โครงการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดูแลตนเองในโรคเรื้อรังแก่แกนนำในชุมชน
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดูแลตนเองในโรคเรื้อรังแก่แกนนำในชุมชน |
รหัสโครงการ | 01-03-68 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลวังคีรี |
วันที่อนุมัติ | 24 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 15,190.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางจิตติพร รัตนแก้ว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลวังคีรี อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.79,99.472place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 61 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้แกนนำในชุมชนได้รับความรู้ ใหม่ๆในการปรับเปลี่ยนรูปแบบการดูแลตนเองที่ถูกต้องเหมาะสม แกนนำสามารถตอบข้อซักถามได้อย่างถูกต้อง |
80.00 | |
2 | เพื่อส่งเสริมให้แกนนำมีทัศนคติที่ดีในการดูแลสุขภาพที่หลากหลาย มีแกนนำเกิดขึ้นในชุมชนทุกหมู่บ้านในตำบลวังคีรี |
70.00 | |
3 | เพื่อให้แกนนำในชุมชน สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมีรูปแบบใหม่ๆในการปรับเปลี่ยนการดูแล ตนเองได้เหมาะสม สอบถามกลุ่มเสี่ยงหรือกลุ่มป่วยหลังจากได้รับความรู้เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองให้ถูกต้องเหมาะสม |
70.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
1.แกนนำมีคตวามรู้ความเข้าใจแนวทางและรูปแบบการดูแลตนเองในโรคเรื้อรังและการจัดกระบวนการกับความเครียดได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 2. แกนนำมีความรู้ในการนำสมาธิบำบัดและการจัดการกับความเครียดมาใช้ในการป้องกันแลดูแลตนเองเมื่อมีโรคเรื้อรังหรือมีภาวะเครียดได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3. แกนนำสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้กับตนเองได้ถูกต้องเหมาะสม 4.ชุมชนได้รับความรู้และรูปแบบการดูแลใหม่ด้วยสมาธิบำบัดและความรู้ด้านการจัดการเมื่อต้องเผชิญความเครียดแพร่หลายเพิ่มมากขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 7 ก.พ. 2568 15:04 น.