โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจ เพื่อนำบุตรหลานรับภูมิคุ้มกันโรค ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเสริมสร้างแรงจูงใจ เพื่อนำบุตรหลานรับภูมิคุ้มกันโรค ปี 2568 |
รหัสโครงการ | ุ68-L4145-02-03 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่ 6 |
วันที่อนุมัติ | 7 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 28,960.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมารีฮะ อาแด |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางนิรันดาร์ ชุมประเวศ |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.502,101.063place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.พ. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 28,960.00 | |||
รวมงบประมาณ | 28,960.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม | 85.00 | ||
2 | ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพ | 85.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีความสำคัญที่จะเป็นตัวป้องกันการเกิดโรคในอนาคต ซึ่งแน่นอนที่สุดการป้องกันย่อมจะดีกว่าการรักษาในภายหลัง การเกิดโรคไม่ว่าจะด้วยทฤษฎีทางการแพทย์หรือหลักการของศาสนา แทนที่จะให้เกิดโรคก่อนค่อยคิดหาวิธีหายา หาทางรักษาในภายหลังอาจจะเป็นสิ่งที่สายเกินไป หากเกิดโรคแล้วไม่สามารถรักษาได้ สร้างความเจ็บป่วย ทรมาน รำคาญใจและเสียเงินมากมาย ซึ่งไม่คุ้มค่าต่อผลเสียที่อาจเกิดขึ้นในภายหลังหากมิได้รับภูมิคุ้มกันแก่ร่างกายตั้งแต่แรกๆโดยการฉีดวัคซีน ซึ่งกระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคแก่ร่างกาย ซึ่งสามารถป้องกันโรคได้ 8 ชนิด ดังนี้ วัณโรค ตับอักเสบบี คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ หัด และไข้สมองอักเสบ ซึ่งวัคซีนป้องกันโรคแต่ละตัวแต่ละชนิดควรได้รับตามช่วงอายุที่กำหนด และรับครบชุดตามเกณฑ์ เมื่ออายุครบ 5 ปี นับตั้งแต่กระทรวงสาธารณสุขได้บรรจุวัคซีนพื้นฐาน หรือวัคซีนภาคบังคับไว้ในแผนสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของประเทศไทยเราเมื่อประมาณ 33 ปีมาแล้ว โดยค่อยๆ เพิ่มชนิดของวัคซีนที่ค้นพบใหม่เข้าไปเรื่อยๆ จนครอบคลุมโรคสำคัญแทบทุกโรคในปัจจุบัน ด้วยเหตุนี้เด็กๆ แทบทุกคนล้วนได้รับวัคซีนกันถ้วนหน้า ส่งผลให้โรคติดต่อร้ายแรงชนิดต่างๆ เช่น โปลิโอ,คอตีบ,ไอกรน,วัณโรค ลดลงอย่างเห็นได้ชัด เนื่องจากโรคติดต่อเหล่านี้เป็นเชื้อโรคที่ติดต่อจากคนสู่คน บางโรคการติดต่อเกิดขึ้นได้ง่าย ทำให้เกิดการแพร่กระจายอย่างรวดเร็วที่เรียกว่า “การระบาด” ผลการระบาดแต่ละครั้ง ทำให้ผู้ติดเชื้อพิการ และเสียชีวิตจำนวนมาก ดังนั้นวัคซีนจึงเป็นสิ่งที่มีประโยชน์มหาศาลต่อมนุษย์ จากผลจากกการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 3 ปีย้อนหลังเด็ก 0-5 ปี ได้รับความคอบคลุมการสร้างเสริมภูมิคุมกันโรค ดังนี้ ในปีงบประมาณ 2565 คิดเป็นร้อยละ 48.57 ในปีงบประมาณ 2566 คิดเป็นร้อยละ 50.54 ในปีงบประมาณ 2567 คิดเป็นร้อยละ 52.67 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า ผลการดำเนินงานย้อนหลัง 3 ปี เป็นผลงานที่ต่ำ ประชาชนไม่เห็นความสำคัญของการรับวัคซีน ยังเป็นปัญหาที่สำคัญที่ควรได้รับการแก้ไข ซึ่งที่ผ่านมาการแก้ไขปัญหาในรูปแบบเดิมยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร
ทางชมรม อสม.(อาสาสมัครสาธารณสุข) ร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกาตอง จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างแรงจูงใจ เพื่อนำบุตรหลานรับภูมิคุ้มกันโรค ปี 2568
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มจำนวนคนในชุมชนที่สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้ ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม |
85.00 | |
2 | เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคม เพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพิธีต่าง ๆ มาตรการที่กักกันในชุมชน (Local Quarantine – LQ) มาตรการแยกกักในชุมชน (Home Isolation – HI) เป็นต้น |
85.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อเพิ่มจำนวนคนในชุมชนที่สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคม เพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
1 - 28 ก.พ. 68 | ขั้นเตรียมการ | 0.00 | 0.00 | - | ||
28 ก.พ. 68 - 1 ก.ย. 68 | ขั้นดำเนินการ | 0.00 | 28,960.00 | - | ||
1 - 30 ก.ย. 68 | ขั้นหลังดำเนินการ | 0.00 | 0.00 | - | ||
9 ก.พ. 68 | ขั้นดำเนินการ | 30.00 | 28,960.00 | - | ||
9 ก.พ. 68 | 1. ประเมินความก้าวหน้าการดำเนินงาน | 0.00 | 0.00 | - | ||
9 ก.พ. 68 | 2. ประเมินตามวัตถุประสงค์ของโครงการ | 0.00 | 0.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 9 ก.พ. 2568 15:19 น.