กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ปี 2568 ”
ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางตอยฮีเร๊าะ อาแด รองประธานชมรม LTC ตำบลกาตอง




ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4145-03-05 เลขที่ข้อตกลง 005

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4145-03-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,195.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันผู้สูงอายุเป็นประชากรกลุ่มใหญ่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขี้น เนื่องจากความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์และสาธารณสุขทำให้ประชากรมีอายุขัยยืนยาวขึ้น จำนวนผู้สูงอายุจึงเพิ่มมากขึ้น เป็นลำดับจากภาวะนี้ทำให้เกิดความตื่นตัวและเตรียมการเพื่อรองรับ และให้การดูแลประชากรกลุ่มนี้มากขี้น จากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทำให้ผู้สูงอายุต้องเผชิญกับปัญหาหลายๆด้าน เช่น ผู้สูงอายุอยู่ตามลำพัง หรือสังคมให้ความสำคัญต่อผู้สูงอายุน้อยลง ประกอบผู้สูงอายุประสบปัญหาสุขภาพ ทำให้ผู้สูงอายุที่มีความเปราะบางอยู่แล้วได้รับผลกระทบ ทั้งนี้หากผู้สูงอายุปรับตัว ได้ทันกับความเปลี่ยนแปลงก็จะสามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข เกิดความพึงพอใจในชีวิต แต่ถ้าไม่พร้อมหรือปรับตัวไม่ได้และไม่ดีพอ จะส่งผลให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยว เหงา ถูกทอดทิ้ง มีความวิตกกังวล ท้อแท้ไม่อยากมีชีวิตอยู่ รู้สึกคุณค่าในชีวิตลดน้อยลง ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุนั้น จำเป็นต้องเตรียมความพร้อมของกลุ่มเป้ายหมายคือตัวผู้สูงอายุเอง ผู้ดูแลผู้สูงอายุ และสมาชิกที่อยู่ร่วมในครอบครัวเดียวกัน ให้มีความรู้ความเข้าใจในโดยเฉพาะเรื่องการป้องกันโรค การส่งเสริมสุขภาพ การฟื้นฟูสุขภาพ และการดูแลรักษาสุขภาพด้วย การดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุซึ่งนับว่าเป็นผู้ที่ทำคุณประโยชน์แก่ครอบครัว ชุมชนและสังคมมาแล้วมากมาย จำเป็นอย่างยิ่งที่คนรุ่นหลังจะต้องให้ความสำคัญ ในการยกย่องให้การดูแลผู้สูงอายุเหล่านี้ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีทั้งสุขภาพกายสุขภาพจิตเป็นการเชิดชูเกียรติให้ผู้สูงอายุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
  2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
  3. เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการชมรมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
  2. ขั้นดำเนินการ
  3. ส่งเสริมกิจกรรมการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ
  4. กิจกรรมเยี่ยมบ้าน โดยกลุ่มแกนนำผู้สูงอายุกับบุคลากรสาธารณสุขติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุในกลุ่มติดบ้านและติดเตียง
  5. ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มแกนนำและคณะทำงานเพื่อคืนข้อมูลและร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาเพื่อปรับปรุงแนวทางปฏิบัติให้เหมาะสมในการนำไปใช้ในการดำเนินงานต่อไป
  6. สรุปผลการดำเนินการโครงการ
  7. เขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กาตอง
  8. 3.1 ประชาสัมพันธ์โครงการ/ประสานงาน
  9. คัดเลือกแกนนำผู้สูงอายุด้านส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 50 คน โดยคัดเลือกจากผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี มีจิตอาสา เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงในชุมชน โดยแบ่งกลุ่มสมาชิกในการดูแลช่วยเหลือกันตามละแวกบ้าน
  10. จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่แกนนำผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพจิต จำนวน 50 คน และผู้ดูแลผู้สูงอายุจำนวน 50 คน เรื่อง การส่งเสริมสุขภาพจิต การคัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพจิต ทักษะคลายเครียดสมาธิ และการรักษาอาการเจ็บป่วยจากโรคข

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจสามารถดูแลสุขภาพของตนเองเบี้องต้นได้
2.ผู้สูงอายุได้รับการดูแลที่ดีจากครอบครัวและชุมชน
3.ผู้สูงอายุมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี สามารถอยู่ในครอบครัวและสังคมได้อย่างเป็นสุข
4.ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมของชุมชนมีการแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ในการดูแลสุขภาพตนเองและเพื่อนสมาชิก 5.เครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
85.00 95.00

 

2 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
85.00 95.00

 

3 เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟู
85.00 95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล (2) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน (3) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการชมรมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) ขั้นดำเนินการ (3) ส่งเสริมกิจกรรมการดำเนินกิจกรรมของชมรมผู้สูงอายุ (4) กิจกรรมเยี่ยมบ้าน โดยกลุ่มแกนนำผู้สูงอายุกับบุคลากรสาธารณสุขติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุในกลุ่มติดบ้านและติดเตียง (5) ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มแกนนำและคณะทำงานเพื่อคืนข้อมูลและร่วมวางแผนแก้ไขปัญหาเพื่อปรับปรุงแนวทางปฏิบัติให้เหมาะสมในการนำไปใช้ในการดำเนินงานต่อไป (6) สรุปผลการดำเนินการโครงการ (7) เขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.กาตอง (8) 3.1 ประชาสัมพันธ์โครงการ/ประสานงาน (9) คัดเลือกแกนนำผู้สูงอายุด้านส่งเสริมสุขภาพ จำนวน 50 คน โดยคัดเลือกจากผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดี มีจิตอาสา เพื่อส่งเสริมสุขภาพจิต และเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงในชุมชน โดยแบ่งกลุ่มสมาชิกในการดูแลช่วยเหลือกันตามละแวกบ้าน (10) จัดอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่แกนนำผู้สูงอายุด้านการส่งเสริมสุขภาพจิต จำนวน 50 คน และผู้ดูแลผู้สูงอายุจำนวน 50 คน เรื่อง การส่งเสริมสุขภาพจิต การคัดกรองและเฝ้าระวังผู้ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพจิต ทักษะคลายเครียดสมาธิ    และการรักษาอาการเจ็บป่วยจากโรคข

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพ สร้างกำลังใจ ผู้สูงวัยสุขภาพดี ปี 2568 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 68-L4145-03-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางตอยฮีเร๊าะ อาแด รองประธานชมรม LTC ตำบลกาตอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด