กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการชุมชนคลองปางร่วมใจ สานพลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดโรค ลดพุง ลดเสี่ยง ห่างไกลโรคเรื้อรัง ปราศจากภาวะแทรกซ้อน ปีงบ 2568

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อให้ประชาชนตำบลคลองปางที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชน มีความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง

 

 

 

2 เพื่อสร้างแกนนำต้นแบบของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่ประชาชนตำบลคลองปาง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของ ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยประเมินจากภาวะสุขภาพโดยรวม ก่อนและหลังอบรม (สามารถเป็นบุคคลต้นแบบเรื่อง การดูแลสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง)

 

 

 

3 .เพื่อสร้างความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบยั่งยืน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /ประชาชนกลุ่มเสี่ยง /ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วย /ประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุง ที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดระดับความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด ระดับ BMI และรอบเอวของตนเองให้อยู่ในเกณฑ์ปกติหรือใกล้เคียงปกติหรือลดลงจากระดับเดิมก่อนเข้าอบรมได้

 

 

 

4 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรังรายใหม่ และป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรังของผู้ป่วยรายเก่า
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง /ประชาชนกลุ่มเสี่ยง /ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วย /ประชาชนที่มีภาวะอ้วนลงพุง ที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้ เรื่องการนำแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องเหมาะสม

 

 

 

5 .เพื่อนำความรู้เรื่องแพทย์ทางเลือกมาใช้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้แก่ประชาชนเขตตำบลคลองปาง
ตัวชี้วัด :