โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568 ”
หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3367-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 26 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3367-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 26 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขมีภารกิจหลักในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของประชากรทุกกลุ่มอายุ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุ การดูแลสุขภาพของประชาชนทั้งในเชิงการรักษาพยาบาล พัฒนาวิชาการด้านป้องกันและฟื้นฟูสมรรถภาพ จึงกำหนดนโยบายพร้อมทั้งสนับสนุนหน่วยงานในสังกัดได้ปฏิบัติภารกิจให้บรรลุเป้าหมายในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ นั้น นับเป็นการเพิ่มสมรรถนะให้ผู้สูงอายุมีศักยภาพในการดูแลตนเองและดูแลสังคมได้มากขึ้น ซึ่งเป็นผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีขึ้น ทั้งทางกาย ทางใจ ทางสังคม และจิตวิญญาณ ในปีงบประมาณ 2568 ประชากรในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านโหล๊ะเร็ด มีประชากรทั้งหมด 1,996 คน เป็นประชากรสูงอายุ 438 คน คิดเป็น ร้อยละ 21.94 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งผู้สูงอายุเหล่านี้ส่วนใหญ่จะมีปัญหาและเป็นกลุ่มเสี่ยงทางด้านสุขภาพ เนื่องจากวัยนี้มีการถดถอยและเสื่อมลงของสุขภาพเป็นผลให้โรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียนทั้งด้านร่างกาย เช่น ป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด 16 คน โรคความดันโลหิตสูง 110 คน โรคเบาหวาน 70 คน และโรคหอบหืด 10 คน รวมจำนวน 196 คน คิดเป็น ร้อยละ 44.74 ของผู้สูงอายุทั้งหมด และปัญหาด้านสุขภาพจิตเนื่องจากถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังมีความรู้สึกว้าเหว่ ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลาน ในปี 2550 มีการรวมกลุ่มจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุขึ้น จำนวน 3 ชมรม ปัจจุบันมีสมาชิกชมรม ทั้งหมด 239 คนคิดเป็น ร้อยละ 54.56 ของผู้สูงอายุทั้งหมด แต่ยังมีผู้สูงอายุส่วนหนึ่งที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมได้ และไม่ได้รับการดูแลสุขภาพเท่าที่ควรจากปัญหาของกลุ่มผู้สูงอายุประกอบกับนโยบายกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านโหล๊ะเร็ด จึงได้จัดทำโครงกาส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สามารถดูแลตนเองได้และอาศัยอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตลอดจนส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุให้ต่อเนื่องและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
- เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้น/กลับเป็นซ้ำในผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้องรัง
- ผู้สูงอายุที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ
- ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกลุ่มหรือชมรมเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจประเมินภาวะสุขภาพ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีภาวะแทรกซ้อนลดลง
- ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถช่วยเหลือสังคมได้
- ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลระยะยาวและมีจำนวนลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
10.00
8.00
2
เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้น/กลับเป็นซ้ำในผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้องรัง
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังสามารถลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้น/กลับเป็นซ้ำ
8.00
7.00
3
ผู้สูงอายุที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอมากขึ้น
80.00
85.00
4
ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกลุ่มหรือชมรมเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกลุ่มหรือชมรมเพิ่มขึ้น
62.00
65.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (2) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้น/กลับเป็นซ้ำในผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้องรัง (3) ผู้สูงอายุที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ (4) ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกลุ่มหรือชมรมเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจประเมินภาวะสุขภาพ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (3) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3367-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568 ”
หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3367-1-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มีนาคม 2568 ถึง 26 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ หมู่ที่ 3 , 5 และ 8 ตำบลเขาย่า อำเภอศรีบรรพต จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3367-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มีนาคม 2568 - 26 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาย่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
กระทรวงสาธารณสุขมีภารกิจหลักในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพของประชากรทุกกลุ่มอายุ ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยสูงอายุ การดูแลสุขภาพของประชาชนทั้งในเชิงการรักษาพยาบาล พัฒนาวิชาการด้านป้องกันและฟื้นฟูสมรรถภาพ จึงกำหนดนโยบายพร้อมทั้งสนับสนุนหน่วยงานในสังกัดได้ปฏิบัติภารกิจให้บรรลุเป้าหมายในกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ นั้น นับเป็นการเพิ่มสมรรถนะให้ผู้สูงอายุมีศักยภาพในการดูแลตนเองและดูแลสังคมได้มากขึ้น ซึ่งเป็นผลให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพดีขึ้น ทั้งทางกาย ทางใจ ทางสังคม และจิตวิญญาณ ในปีงบประมาณ 2568 ประชากรในเขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านโหล๊ะเร็ด มีประชากรทั้งหมด 1,996 คน เป็นประชากรสูงอายุ 438 คน คิดเป็น ร้อยละ 21.94 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งผู้สูงอายุเหล่านี้ส่วนใหญ่จะมีปัญหาและเป็นกลุ่มเสี่ยงทางด้านสุขภาพ เนื่องจากวัยนี้มีการถดถอยและเสื่อมลงของสุขภาพเป็นผลให้โรคภัยไข้เจ็บมาเบียดเบียนทั้งด้านร่างกาย เช่น ป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด 16 คน โรคความดันโลหิตสูง 110 คน โรคเบาหวาน 70 คน และโรคหอบหืด 10 คน รวมจำนวน 196 คน คิดเป็น ร้อยละ 44.74 ของผู้สูงอายุทั้งหมด และปัญหาด้านสุขภาพจิตเนื่องจากถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังมีความรู้สึกว้าเหว่ ไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากลูกหลาน ในปี 2550 มีการรวมกลุ่มจัดตั้งชมรมผู้สูงอายุขึ้น จำนวน 3 ชมรม ปัจจุบันมีสมาชิกชมรม ทั้งหมด 239 คนคิดเป็น ร้อยละ 54.56 ของผู้สูงอายุทั้งหมด แต่ยังมีผู้สูงอายุส่วนหนึ่งที่ไม่สามารถเข้าร่วมกิจกรรมของชมรมได้ และไม่ได้รับการดูแลสุขภาพเท่าที่ควรจากปัญหาของกลุ่มผู้สูงอายุประกอบกับนโยบายกระทรวงสาธารณสุขเรื่องการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ รพ.สต.บ้านโหล๊ะเร็ด จึงได้จัดทำโครงกาส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุขึ้น เพื่อให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ สามารถดูแลตนเองได้และอาศัยอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข ตลอดจนส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของชมรมผู้สูงอายุให้ต่อเนื่องและยั่งยืน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
- เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้น/กลับเป็นซ้ำในผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้องรัง
- ผู้สูงอายุที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ
- ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกลุ่มหรือชมรมเพิ่มขึ้น
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ตรวจประเมินภาวะสุขภาพ
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
- จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีภาวะแทรกซ้อนลดลง
- ผู้สูงอายุมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและสามารถช่วยเหลือสังคมได้
- ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลระยะยาวและมีจำนวนลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง |
10.00 | 8.00 |
|
|
2 | เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้น/กลับเป็นซ้ำในผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้องรัง ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรังสามารถลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้น/กลับเป็นซ้ำ |
8.00 | 7.00 |
|
|
3 | ผู้สูงอายุที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอมากขึ้น |
80.00 | 85.00 |
|
|
4 | ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกลุ่มหรือชมรมเพิ่มขึ้น ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกลุ่มหรือชมรมเพิ่มขึ้น |
62.00 | 65.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน (2) เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงขึ้น/กลับเป็นซ้ำในผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้องรัง (3) ผู้สูงอายุที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัยเพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ (4) ให้ผู้สูงอายุเข้าร่วมกลุ่มหรือชมรมเพิ่มขึ้น
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจประเมินภาวะสุขภาพ (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ (3) จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L3367-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสุขวิทย์ มานันตพงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......