โครงกา่รสมุนไพรไล่ยุง
ชื่อโครงการ | โครงกา่รสมุนไพรไล่ยุง |
รหัสโครงการ | 68-L5273-2-3 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านไร่อ้อย |
วันที่อนุมัติ | 30 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 16 มีนาคม 2568 - 31 มีนาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 มกราคม 2568 |
งบประมาณ | 17,260.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาววิภาดา กะหมั่น |
พี่เลี้ยงโครงการ | นางดวงใจ อ่อนแก้ว |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลฉลุง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.007,100.296place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 16 มี.ค. 2568 | 31 มี.ค. 2568 | 17,260.00 | |||
รวมงบประมาณ | 17,260.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : ระบุ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากสถานการณ์โรคไข้เลือดออกที่มีการระบาดอยู่ทั่วประเทศและเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่สำคัญส่งผลกระทบตามมามากมาย เช่น เป็นพาระของครอบครัว ผลต่อการเรียน ต่อการทำงาน และค่าใช้จ่ายในการรับบริการการรักษาพยาบาลและค่าใช้จ่ายของครอบครัว ผู้ป่วยตลอดจนทำให้ผู้ป่วยเสียชีวิตก่อนวัยอันควรด้วยเหตุนี้ ปัญหาโรคไข้เลือดออกจึงเป็นปัญหาสำคัญที่เราทุกคนในสังคมควรช่วยกันป้องกันแก้ไขอย่างจริงจัง เพื่อลดปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในประเทศไทย และเพื่อลดผลกระทบทางสังคมเศรษฐกิจ และสุขภาพของประชาชนจากการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก ตั้งแต่ระดับครัวเรือน ชุมชน จนถึงระดับชาติ และในส่วนของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลฉลุง ได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าวได้ร่วมมือกับชมรม อสม. ม.5 บ้านไร่อ้อย จึงได้จัดทำโครงการสมุนไพรไล่ยุงเป็นการแปรรูปสมุนไพรที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่นนำมาใช้ประโยชน์ในการไล่ยุง ป้องกันยุง และแมลงอื่น ๆ ประชาชนได้ใช้สเปรย์และถุงหอมไล่ยุงที่ปลอดสารพิษ ราคาถูก ยังสามารถทำเองได้ในครัวเรือนลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวอีกด้วย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ข้อ 1.ประชาชนได้มีความรู้เรื่องสมุนไพรในการป้องกันโรคไข้เลือดออก ประชาชนได้มีความรู้ในเรื่องของการใช้สมุนไพรในการป้องกันโรคไข้เลือดออก |
||
2 | ข้อ 2.ประชาชนจัดทำยาสมุนไพรในการไล่ยุง ประชาชนสามารถจัดทำสมุนไพรไล่ยุงได้ร้อยละ 100 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | มี.ค. 68 |
---|---|---|---|
1 | กิจกรรมอบรมให้ความรู้(16 มี.ค. 2568-31 มี.ค. 2568) | 12,450.00 | |
2 | กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ(16 มี.ค. 2568-31 มี.ค. 2568) | 4,810.00 | |
รวม | 17,260.00 |
1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 40 | 12,450.00 | 0 | 0.00 | 12,450.00 | |
16 - 31 มี.ค. 68 | อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพร | 40 | 12,450.00 | - | - | ||
2 กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 40 | 4,810.00 | 0 | 0.00 | 4,810.00 | |
16 มี.ค. 68 | อบรมการทำสมุนไพรไล่ยุง | 40 | 4,810.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 80 | 17,260.00 | 0 | 0.00 | 17,260.00 |
1.ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรไล่ยุงและสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 2.ชุมชนได้มีการตระหนักถึงอันตรายของยุงลาย และโรคไข้เลือดออก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 10 ก.พ. 2568 15:31 น.