กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ”
ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรีดา กาเดร์




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ที่อยู่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2514-1-02 เลขที่ข้อตกลง 2/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลาโละ อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2514-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลาโละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน นับเป็นปัญหาการเจ็บป่วยที่สำคัญและนำมาซึ่งความสูญเสีย ทรัพยากรในการดูแลรักษา มีผลกระทบต่อผู้ป่วยเอง และผู้ดูแล ค่ารักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายในครอบครัว มีอาการป่วยเรื้อรังเป็นเวลานาน ยังเชื่อมโยงไปสู่โรคแทรกซ้อนอื่นๆ อีกมากมาย เช่น โรคหัวใจและหลอดเลือดสมอง ซึ่งเป็นสาเหตุให้พิการและอยู่ในภาวะติดเตียง ทำให้เป็นโรคไตวาย ซึ่งเป็นโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง และส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย และครอบครัวสำหรับสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคคือ กรรมพันธุ์และพฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการใช้ชีวิต ในส่วนของกรรมพันธุ์นั้นเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญขึ้นเรื่อยๆ เมื่อมีอายุมากขึ้น ขณะที่สิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยเสี่ยงที่เริ่มต้นตั้งแต่ในครรภ์แม่ แม้กรรมพันธุ์จะเป็นสิ่งที่แก้ไขไม่ได้ แต่สามารถควบคุมปัจจัยเรื่องอาหารและสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้ จากผลการวิจัยหลายเรื่องชี้ให้เห็นว่า การควบคุมอาหารอย่างดี รวมไปถึงการออกกำลังกายเป็นประจำนั้นส่งผล โดยตรงต่อการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน โดยเฉพาะคนที่มีความเสี่ยงสูงทางกรรมพันธุ์ สามารถควบคุมโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน รวมไปถึงป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆ ได้ จากข้อมูลประชากรอายุ 35 ปีขึ้นไปในเขตรับผิดชอบ ปี 2568 กลุ่มเป้าหมายที่ต้องคัดกรองในไตรมาสแรก โรคเบาหวานจำนวน 1,833 ราย และคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 1,513 ราย ได้รับการคัดกรองเบาหวานจำนวน 735 ราย คิดเป็น ร้อยละ 40.10 และได้รับการคัดกรองความดันโลหิตสูง จำนวน 555 ราย คิดเป็นร้อยละ 36.71 พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 22 ราย กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง 40 ราย หากไม่ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีแนวโน้มที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ได้ การรักษาโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน โดยการให้ความสำคัญด้านการแพทย์อาจไม่เพียงพอต่อการควบคุมโรคที่สมบูรณ์ ผู้ป่วยต้องได้รับความรู้เรื่องโรค รวมไปถึงความรู้เรื่องโภชนาการและการออกกำาลังกายที่ถูกต้อง กระตุ้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านกิจกรรมต่างๆ ซึ่งถ้าปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดตั้งแต่ระยะแรก ก็จะสามารถใช้ชีวิตอย่างมีความสุขโดยปราศจากโรคแทรกซ้อน
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอูยิ ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน การดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงที่มีแนวโน้มสูงขึ้นทุกปีอีกทั้งจำนวนผู้ป่วยหลอดเลือดสมองมีจำนวนมากขึ้น ทำให้ชุมชนมีผู้พิการติดเตียงเพิ่มขึ้นเช่นกัน จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ปี 2568 ขึ้น โดยเน้นกิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเอง และกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับการติดตามเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พร้อมทั้งสร้างความตระหนักในการดูแลสุขภาพมีพฤติกรรมที่ดีและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
  2. กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ ความเข้าใจและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง 2.. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด มีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้และสามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง
80.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 ของประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและโรคแทรกซ้อน
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน (2) กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการแก่กลุ่มป่วยโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2514-1-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรีดา กาเดร์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด