โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางทัตพิชา หวานสี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด
มิถุนายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-3357-02-012 เลขที่ข้อตกลง ...................../2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-3357-02-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล ปัจจุบันความรุนแรงของโรคฟันผุของเด็กไทยรุนแรงขึ้น ทุกปีเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องเพราะเด็กชั้นประถมศึกษายังไม่เห็นความสำคัญใน เรื่องการดูแลอนามัยในช่องปาก ซึ่งปัญหานี้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็กในหลาย ๆ ด้านทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการศึกษาของเด็กด้วยสุขภาพอนามัยที่ดี เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ และจำเป็นของชีวิตเด็กเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งของสังคม
ทั้งนี้ความเจริญของสังคมย่อมขึ้นกับประสิทธิภาพของเด็กที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต่อไปการที่เด็กมีสุขภาพที่ดีจะเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน“ ทันตสุขภาพ” เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพอนามัยการที่มีทันตสุขภาพที่ดีปราศจากโรคในช่องปากฟันทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์จะส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีด้วยเด็กวัยเรียนเป็นวัยที่มีฟันน้ำนมขึ้นมาครบทุกซี่แล้วโรคในช่องปากที่เป็นปัญหาของเด็กในวัยนี้คือโรคฟันผุการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดมีผลเสียต่อบุคลิกภาพการบดเคี้ยวการเจริญเติบโต ของขากรรไกรตลอดจนการเรียงตัวของฟันถาวรที่จะขึ้นมาแทนที่ก็จะมีผลกระทบต่ออนามัยในช่องปากของเด็กนอกจากนี้ปัจจัยของการเกิดปัญหาโรคฟันผุของเด็กก่อนวัยเรียนคือผู้ปกครองซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญ ต่อการดูแลสุขภาพช่องปากการส่งเสริมให้ผู้ปกครอง มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกอย่างสม่ำเสมอจึงมีความสำคัญ และสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังได้จากการตรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร ในปี 2567
จำนวน 150คน พบว่าเด็กเป็นโรคฟันผุ ถึงร้อยละ 65 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายของประเทศที่กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 50 และมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษา ตั้งแต่เริ่มแรก
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันตลอดจน มีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพทั้งยังเป็นการ ลดและป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพอื่นตามมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา มีให้ความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก
- เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในเด็กวัยเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- กิจกรรมที่ 2 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาได้รับการตรวจช่องปากและฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
141
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา เห็นความสำคัญของการดูแลฟันและช่องปากมากขึ้น
2.เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันแก่เด็กได้อย่างถูกวิธี
3.เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา เห็นความสำคัญในการเข้ารับการตรวจช่องปากและฟันร้อยละ 90
4.ฟันในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา มีให้ความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา สามารถดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของตนเองได้อย่างถูกต้อง
141.00
113.00
2
เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
141.00
126.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
141
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
141
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา มีให้ความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในเด็กวัยเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน (2) กิจกรรมที่ 2 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาได้รับการตรวจช่องปากและฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-3357-02-012
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางทัตพิชา หวานสี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางทัตพิชา หวานสี
มิถุนายน 2568
ที่อยู่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-3357-02-012 เลขที่ข้อตกลง ...................../2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาโหนด อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-3357-02-012 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,290.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาโหนด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล ปัจจุบันความรุนแรงของโรคฟันผุของเด็กไทยรุนแรงขึ้น ทุกปีเนื่องจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องเพราะเด็กชั้นประถมศึกษายังไม่เห็นความสำคัญใน เรื่องการดูแลอนามัยในช่องปาก ซึ่งปัญหานี้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อเด็กในหลาย ๆ ด้านทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม จิตใจ และเศรษฐกิจซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการศึกษาของเด็กด้วยสุขภาพอนามัยที่ดี เป็นองค์ประกอบที่สำคัญ และจำเป็นของชีวิตเด็กเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่งของสังคม
ทั้งนี้ความเจริญของสังคมย่อมขึ้นกับประสิทธิภาพของเด็กที่จะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ต่อไปการที่เด็กมีสุขภาพที่ดีจะเป็นกำลังสำคัญต่อการพัฒนาประเทศในทุก ๆ ด้าน“ ทันตสุขภาพ” เป็นส่วนหนึ่งของสุขภาพอนามัยการที่มีทันตสุขภาพที่ดีปราศจากโรคในช่องปากฟันทำหน้าที่ได้อย่างสมบูรณ์จะส่งผลให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีด้วยเด็กวัยเรียนเป็นวัยที่มีฟันน้ำนมขึ้นมาครบทุกซี่แล้วโรคในช่องปากที่เป็นปัญหาของเด็กในวัยนี้คือโรคฟันผุการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนกำหนดมีผลเสียต่อบุคลิกภาพการบดเคี้ยวการเจริญเติบโต ของขากรรไกรตลอดจนการเรียงตัวของฟันถาวรที่จะขึ้นมาแทนที่ก็จะมีผลกระทบต่ออนามัยในช่องปากของเด็กนอกจากนี้ปัจจัยของการเกิดปัญหาโรคฟันผุของเด็กก่อนวัยเรียนคือผู้ปกครองซึ่งเป็นผู้ที่มีบทบาทที่สำคัญ ต่อการดูแลสุขภาพช่องปากการส่งเสริมให้ผู้ปกครอง มีความตระหนักในการดูแลสุขภาพช่องปากของลูกอย่างสม่ำเสมอจึงมีความสำคัญ และสามารถลดปัญหาที่เกิดขึ้นตามมาภายหลังได้จากการตรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทร ในปี 2567
จำนวน 150คน พบว่าเด็กเป็นโรคฟันผุ ถึงร้อยละ 65 ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายของประเทศที่กำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 50 และมีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นถ้าไม่ได้รับการดูแลรักษา ตั้งแต่เริ่มแรก
ดังนั้นทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านต้นไทรได้เล็งเห็นถึงปัญหาดังกล่าวจึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันตลอดจน มีความรู้เรื่องโภชนาการทางทันตสุขภาพทั้งยังเป็นการ ลดและป้องกันไม่ให้เกิดโรคที่เป็นปัญหาสุขภาพอื่นตามมา
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา มีให้ความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก
- เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในเด็กวัยเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
- กิจกรรมที่ 2 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาได้รับการตรวจช่องปากและฟัน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 141 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา เห็นความสำคัญของการดูแลฟันและช่องปากมากขึ้น
2.เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา สามารถให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแลช่องปากและฟันแก่เด็กได้อย่างถูกวิธี
3.เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา เห็นความสำคัญในการเข้ารับการตรวจช่องปากและฟันร้อยละ 90
4.ฟันในเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาผุลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา มีให้ความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา สามารถดูแลสุขภาพช่องปากและฟันของตนเองได้อย่างถูกต้อง |
141.00 | 113.00 |
|
|
2 | เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก |
141.00 | 126.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 141 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 141 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา มีให้ความรู้ ความเข้าใจ เพิ่มทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปาก (2) เพื่อให้เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ ความเข้าใจในเด็กวัยเรียนเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน (2) กิจกรรมที่ 2 เด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษาได้รับการตรวจช่องปากและฟัน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากของเด็กวัยเรียนชั้นประถมศึกษา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-3357-02-012
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางทัตพิชา หวานสี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......