กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน plus สู่ 2500วัน ในปีงบประมาณ 2568
รหัสโครงการ 68-L1515-01–03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองปรือ
วันที่อนุมัติ 28 มกราคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 11 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 16,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวหทัยชนก ชำนาญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลหนองปรือ อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.9,99.669place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 210 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน :

กลุ่มวัยทำงาน 10 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

จากการติดตามภาวะโภชนาการเขตรับผิดชอบ รพ.สต.หนองปรือ พบหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง จำนวน 8 ราย ร้อยละ42.11 ทารกมีน้ำหนักแรกเกิดไม่น้อยกว่า 2,500 กรัม 1 รายร้อยละ 5 ในเด็ก 0- 5 ปี ไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2567 ร้อยละของเด็กสูงดีสมส่วน 64.33 มีพัฒนาการสมวัยไตรมาส 4 ปีงบประมาณ 2567 11 คน ร้อยละ 91.67 ข้อมูลจาก HDC ปี2567
ด้วยเหตุนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองปรือ จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน plus สู่ 2500วัน ในปีงบประมาณ พ.ศ.2568” เพื่อให้ตำบลมีการดำเนินงานดูแล ส่งเสริมสุขภาพและคุ้มครองสตรีและเด็กปฐมวัย เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยไทย เติบโต เต็มศักยภาพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผ่านกลไกความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชนและท้องถิ่น ในระดับตำบล หมายเหตุ...ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานอื่น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8 ครั้งตามเกณฑ์ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงในการตั้งครรภ์

ให้บริการฝากครรภ์ในหญิงตั้งครรภ์รายปกติที่ไม่มีความเสี่ยง มีการคัดกรองและประเมินความเสี่ยง ตามสิทธิประโยชน์ และนัดมาตรวจตามนัด 8 ครั้งตามเกณฑ์

2 เพื่อให้มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด 3 ครั้งตามเกณฑ์

หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยม 3 ครั้ง โดยบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข และหรือ อสม.ตามเกณฑ์ และส่งเสริมมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ทุกครั้งที่ลงเยี่ยม

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์และหญิงวัยเจริญพันธ์ มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องและปลอดภัยขณะตั้งครรภ์

ร้อยละ 80 เด็กแรกเกิด-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย -เด็กสูงดีสมส่วน ตามวัย

4 4. เพื่อให้เด็กแรกเกิด-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย -เด็กสูงดีสมส่วน ตามวัย ตัวชี้วัดความสำเร็จ

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 225 16,500.00 0 0.00 16,500.00
11 ก.พ. 68 - 31 ส.ค. 68 กิจกรรมโครงการมหัศจรรย์ 1000 วัน plus สู่ 2500วัน ในปีงบประมาณ 2568 225 16,500.00 - -
รวมทั้งสิ้น 225 16,500.00 0 0.00 16,500.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลฝากครรภ์คุณภาพ 8 ครั้งตามเกณฑ์
2. มารดาและทารกหลังคลอดได้รับการดูแลหลังคลอด
3. เด็กแรกเกิด-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 80 โภชนาการสมส่วน ตามวัย ร้อยละ 70
4. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มารดาหลังคลอดและผู้ดูแลเด็กที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 5.เพื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชนและภาคีเครือข่าย

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ก.พ. 2568 13:43 น.