กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อสม. นักสื่อสารสุขภาพค้นหารู้ทันภัยสุขภาพในตำบล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวตอยบะห์ นิคง




ชื่อโครงการ โครงการ อสม. นักสื่อสารสุขภาพค้นหารู้ทันภัยสุขภาพในตำบล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568

ที่อยู่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2971-2-7 เลขที่ข้อตกลง 12/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม. นักสื่อสารสุขภาพค้นหารู้ทันภัยสุขภาพในตำบล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม. นักสื่อสารสุขภาพค้นหารู้ทันภัยสุขภาพในตำบล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม. นักสื่อสารสุขภาพค้นหารู้ทันภัยสุขภาพในตำบล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะรุบี อำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L2971-2-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,072.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสื่อต่างๆ นับว่ามีอิทธิพลต่อความรู้สึกนึกคิด ทัศนคติ ค่านิยม และพฤติกรรมของประชาชนเป็นอย่างมาก ประกอบช่วงที่ผ่านมาตั้งแต่ปี 2562 – 2565 เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ประชาชนจึงมีการความสนใจพิจารณาเกี่ยวกับสุขภาพ มักจะเสาะหาข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพจากแหล่งต่างๆ รวมทั้งจากสื่อโทรทัศน์ วิทยุ หนังสือ รวมทั้งสื่อโซเซี่ยวมีเดีย ดังนั้นข้อความเชิญชวนตามสื่อๆรูปแบบที่หลากหลาย จึงมีส่วนสำคัญในการตัดสินใจของประชาชนในการตัดสินใจเชื่อถือบทความ ข่าว ซื้อสินค้า ผลิตภัณฑ์ และใช้บริการสุขภาพนั้นๆ การดังนั้นจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งในการพิจารณาสื่อที่ได้รับให้ละเอียดรอบคอบว่ามีการให้ข้อมูลที่เป็นจริงหรือมีโฆษณาชวนเชื่อเกินจริงหรือไม่ เนื่องจากหากขาดการพิจารณาอย่างรอบคอบ เชื่อถือข้อความบนสื่อโฆษณาโดยปราศจากการไตร่ตรอง ประกอบกับใช้ความต้องการ ความอยากได้และความปรารถนาของจิตใจเป็นตัวนำทางในการเลือกสินค้ามากกว่าความสมเหตุสมผลจะทำให้ได้รับสินค้า ผลิตภัณฑ์ และบริการสุขภาพที่ไม่สมประโยชน์ และอาจเกิดผลเสียหาย มีอันตรายต่อรางกายและจิตใจของผู้บริโภคได้ การสื่อสารจึงเป็นมาตรการหนึ่งที่หลายฝ่ายได้พยายามกระทำมาโดยตลอด เพื่อให้ประชาชนและชุมชนมีสุขภาวะที่ดีและสามารถพึ่งตนเองทางด้านสุขภาพได้ จากสถานการณ์ด้านสุขภาพของประชากรในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านบาโงยือแบ็ง พบว่า ประชากรทั้งหมดในเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบาโงยือแบ็งจำนวน 1,228คน ประชากรกลุ่มที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป จำนวน 488 คน คิดเป็นร้อยละ 39.74 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งเป็นกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรค NCDs หรือโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของประเทศไทย และเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตมากกว่าร้อยละ 70 ของการเสียชีวิตทั้งหมด ซึ่งกลุ่มโรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่เกิดจากนิสัยหรือพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของเรา โดยกลุ่มนี้จะค่อยๆ สะสมอาการมีการดำเนินของโรคไปอย่างช้าๆ มีอาการอย่างต่อเนื่องและเรื้อรังในที่สุด หากไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องและทันเวลาจะส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตของผู้ป่วยและคนรอบข้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน
  2. ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม
  3. ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. นักสื่อสารสุขภาพคุณภาพค้นหารู้ทันภัยในสภาพชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 21
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคเรื้อรัง ร้อยละ 80
1.00 2.00

 

2 ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม
ตัวชี้วัด : สถานีสุขภาพในชุมชน หมู่ละ 1 แห่ง
1.00 2.00

 

3 ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้
ตัวชี้วัด :
1.00 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 21
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 21
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) การมีส่วนร่วมในกิจกรรมที่มีประโยชน์ต่อเพื่อ และชุมชน (2) ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงมีความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านสุขภาพ ที่นำมาใช้กับตนเอง ครอบครัว และสังคม (3) ประชาชนสามารถดูแลสุขภาพในเบื้องต้นได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ อสม. นักสื่อสารสุขภาพคุณภาพค้นหารู้ทันภัยในสภาพชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม. นักสื่อสารสุขภาพค้นหารู้ทันภัยสุขภาพในตำบล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L2971-2-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวตอยบะห์ นิคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด