กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการรวมพลังชาวตลาดและแผงจำหน่ายอาหารสดเขตเทศบาลเมืองปัตตานี ต้านภัยการปนเปื้อนยาและสารเคมีที่ไม่ปลอดภัยและไม่สมเหตุผลในอาหาร จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนา RDU จังหวัดปัตตานี 2568-2570 2. เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล จากการปลอมปนหรือปนเปื้อนของยา (สารเร่งเนื้อแดง) สารฆ่าแมลงและสี ที่ส่งผลต่อสุขภาพตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จำหน่าย 3. เพื่อสร้างและพัฒนาทีมตรวจตาความปลอดภัยในตลาดและแผงจำหน่ายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านยาที่สมเหตุผลและสร้างความตระหนักในการปฎิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายของผู้จำหน่ายและผู้บริโภค (HL) 5. เพื่อสร้างชุดความรู้ เข้าใจง่าย เผยแพร่ในกลุ่มเป้าหมายผ้านช่องทางมี่เข้าถึงได้
ตัวชี้วัด : 1. มีแผนปฎิบัติการบูรณาการดำเนินงานเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกันในการแก้ปัญหาการปนเปื้อนยา สารเคมีในอาหารที่สด อาหารแปรรุป 2. ร้อยละ 80 ของอาหารกลุ่มเป้าหมายที่รับการตรวจสอบการปนเปื้อนอยู่ในเกณฑ์กำหนด 3. มีทีมเครือข่ายดูแลความปลอดภัยและผผ่านการอบรมความรู้ที่เกี่ยวข้อง 4. มีกิจกรรมที่สร้างความรู้หรือความเข้าใจให้กับผู้จำหน่ายผู้บริโภคอย่างน้อย 1 กิจกรรมในทุกไตมาส

 

2
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อบูรณการความร่วมมือระหว่างหน่วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องตามแผนพัฒนา RDU จังหวัดปัตตานี 2568-2570 2. เพื่อแก้ไขปัญหาการใช้ยาที่ไม่สมเหตุผล จากการปลอมปนหรือปนเปื้อนของยา (สารเร่งเนื้อแดง) สารฆ่าแมลงและสี ที่ส่งผลต่อสุขภาพตั้งแต่ผู้ผลิต ผู้แปรรูป และผู้จำหน่าย 3. เพื่อสร้างและพัฒนาทีมตรวจตาความปลอดภัยในตลาดและแผงจำหน่ายในเขตเทศบาลเมืองปัตตานี 4. เพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจด้านยาที่สมเหตุผลและสร้างความตระหนักในการปฎิบัติที่ถูกต้องตามกฎหมายของผู้จำหน่ายและผู้บริโภค (HL) 5. เพื่อสร้างชุดความรู้ เข้าใจง่าย เผยแพร่ในกลุ่มเป้าหมายผ้านช่องทางมี่เข้าถึงได้ (2)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh