กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา


“ การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรควัณโรค ”

ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางเอมอร แสนดี

ชื่อโครงการ การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรควัณโรค

ที่อยู่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 61-L1513-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2561 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2561


กิตติกรรมประกาศ

"การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรควัณโรค จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรควัณโรค



บทคัดย่อ

โครงการ " การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรควัณโรค " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลควนเมา อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 61-L1513-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2561 - 28 กุมภาพันธ์ 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนเมา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันนี้ประชาชนเริ่มมีวิถีชีวิตที่เปลี่ยนไปจากสังคมชนบทเริ่มเข้าสู่สังคมเมืองมากขึ้นทำให้ประชนชนได้รับความสะดวกสบายซึ่งก่อให้เกิดโรคภัยมากมายทั้งโรคที่อุบัติใหม่และโรคที่ระบาดมานานแล้ว ซึ่งโรคต่างๆที่เกิดขึ้นได้มีความรุนแรงทำให้ประชาชนมีความวิตกกังวลกับโรคที่อุบัติขึ้นใหม่ วัณโรคเป็นปัญหาสำคัญของประเทศไทย ในปัจจุบันประเทศไทยมีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 120,000 ราย และผู้ป่วยวัณโรคดื้อยาหลายขนาน คาดว่าน่าจะมีประมาณ 2,200 ราย ซึ่งในจำนวนผู้ป่วยรายใหม่นี้มีผู้ป่วยเพียงประมาณ 70,000 ราย ที่ขึ้นทะเบียนรักษา และคาดว่ามีผู้ป่วยที่ยังไม่ขึ้นทะเบียนรักษาประมาณ 50,000 ราย ในส่วนผู้ป่วยประชากรต่างด้าว คาดว่ามีผู้ป่วยปีละประมาณ 2,000 ราย ผู้ต้องขังในเรือนจำ 1,407 ราย กระทรวงสาธารณสุข ได้ให้ความสำคัญกับการแก้ปัญหาวัณโรค และได้เร่งรัดให้มีการยกระดับเป้าหมายลดโรค จากเดิมมุ่งเน้นการควบคุมการระบาดของโรค มุ่งไปสู่การยุติปัญหาวัณโรคในประเทศไทย โดยใน 5 ปีแรก (ปี 2559-2563) มีเป้าหมายลดอัตราป่วยลงร้อยละ 20 หรือให้เหลือผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 96,000 ราย และเป้าหมายระยะยาวคือให้อัตราป่วยรายใหม่ลดเหลือน้อยกว่า 10 ต่อประชากรแสนคน (ประมาณ 7,000 ราย) ใน 20 ปีข้างหน้า โดยการรักษาวัณโรคค่อนข้างมีปัญหา เพราะคนไข้ต้องรับประทานยาทุกวันติดต่อกันเป็นเวลา ๖ เดือน และถ้าขาดยาไปก็จะทำให้เชื้อโรคดื้อยาจนไม่อาจรักษาให้หายขาดได้ในที่สุดจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการค้นหาเชิงรุกและติดตามผู้ป่วยกินยาจนครบกำหนด พร้อมเฝ้าระวังปัญหาเชื้อวัณโรคดื้อยาเพิ่มสิทธิการตรวจติดตามผลการรักษาผู้ป่วยวัณโรคดื้อยา โดยกำหนดแนวทางการควบคุมโรคมุ่งเน้น “ค้นให้พบ จบด้วยหาย พัฒนาเครือข่ายและระบบดูแลรักษา” ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันรักษามีประสิทธิภาพและประสิทธิผลที่ดีต่อผู้ป่วยและชุมชน สถานีอนามัยเฉลิม พระเกียรติ ๖๐ พรรษา นวมินทราชินี ตำบลควนเมา อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง จึงได้จัดทำโครงการ “การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรควัณโรค” เพื่อสามารถคัดกรองหากลุ่มเสี่ยงที่มีโอกาสเกิดโรคในชุมชนและสามารถเข้ารับการรักษาได้อย่างทันเวลา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 80
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ทำให้แกนนำสุขภาพมีความรู้ในการคัดกรองโรควัณโรค ๒. ทำให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลควนเมาได้รับการตรวจคัดกรองโรควัณโรค
    ๓. ทำให้แกนนำสุขภาพมีการค้นหาผู้ป่วยโรควัณโรครายใหม่ในพื้นที่ตำบลควนเมาและส่งเข้ารับการรักษาได้ทันเวลา


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 80
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    การให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพแก่ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงโรควัณโรค จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 61-L1513-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางเอมอร แสนดี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด