กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการแกนนำชุมชนร่วมใจป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี 2568
รหัสโครงการ 2568-L4135-01-07
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบุดี
วันที่อนุมัติ 5 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2568
งบประมาณ 20,500.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายอะหมัดลุตฟี กามา
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบุดี อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยโรคไข้เลือดออก เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศมานานแล้ว โดยมียุงลายเป็นพาหะ
เนื่องจากโรคนี้มีแนวโน้มการระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี และพบว่าประชากรที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกมากที่สุดได้แก่กลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่5 -14 ปีแต่ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยไข้เลือดออกในผู้ใหญ่และมีการเกิดโรคตลอดทั้งปีอีกด้วยการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกให้ประสบผลสำเร็จและเกิดประสิทธิภาพนั้นจำเป็นต้องระดมความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการกำจัดลูกน้ำยุงลายที่เป็นพาหะนำโรคและรณรงค์ให้ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกและร่วมมือกันเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคนี้
ตำบลบุดีพบผู้ป่วยไข้เลือดออกและอาการเข้าข่ายด้วยไข้เลือดออก ตั้งแต่เดือน มกราคม ถึงเดือนธันวาคม 2567 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกร้อยละ 268.81ต่อแสนประชากรและเป็นโรคติดต่อที่ยังจำเป็นต้องเฝ้าระวังอย่างต่อเนื่อง จากการแก้ปัญหาระบาดของโรคไข้เลือดออกที่มีมาอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนแนวคิดในการแก้ปัญหา การมีส่วนร่วมในชุมชนได้ตระหนักถึงปัญหาของโรคไข้เลือดออก พร้อมทั้งหาวิธีการแก้ไข ซึ่งปัญหาของโรคไข้เลือดออกเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก จึงต้องปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ของโรคที่เปลี่ยนไป โดยเน้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญ จึงได้จัดโครงการรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ให้ครอบคลุม ทุกหมู่บ้านในเขตตำบลบุดี เพื่อกำจัดยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  1. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกไม่เกิน 80 ต่อแสนประชากรแสน
0.00
2 ข้อที่ 2 พื้นที่เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านบุดี เช่น ส่วนราชการ/รพ.สต./โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10
  1. ร้อยละ 80 ของ พื้นที่เขตรับผิดชอบรพ.สต.บ้านบุดี เช่น ส่วนราชการ/รพ.สต./โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย  CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10
0.00
3 ข้อที่ 3 ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก และเกิดพฤติกกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
  1. ร้อยละ70 ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก  และเกิดพฤติกกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ
0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ข้อที่ 1 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : ข้อที่ 2 พื้นที่เขตรับผิดชอบ รพ.สต.บ้านบุดี เช่น ส่วนราชการ/รพ.สต./โรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก/ มีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย CI= 0 /ในหมู่บ้านมีค่า HI น้อยกว่า 10

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : ข้อที่ 3 ประชาชนให้ความร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก และเกิดพฤติกกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

รวม 0 0.00 0 0.00

ไม่ระบุวัตถุประสงค์

5 ก.พ. 68 - 31 ส.ค. 68 อบรมให้ความรู้แกนนำนักเรียนในโรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ยะลา จำนวน 50 คน 10,250.00 -
5 ก.พ. 68 - 31 ส.ค. 68 อบรมให้ความรู้แกนนำชุมชน จำนวน 50 คน 10,250.00 -

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

.ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจ มีความตระหนักและให้ความร่วมมือในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกอย่างเข้มแข็งและ ต่อเนื่อง ไม่มีแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในพื้นที่และสามารถเฝ้าระวังและควบคุมโรคในพื้นที่ได้ 2.อัตราป่วยจากโรคไข้เลือดออกลดลงและไม่มีรายงานอัตราการตายด้วยโรคไข้เลือดออก 3.ประชาชนทำกิจกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายได้อย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ก.พ. 2568 00:00 น.