โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ ”
ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอกีเยาะ ปูเตะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ
ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4145-02-09 เลขที่ข้อตกลง 009
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4145-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจการทำความสะอาดในช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี ปีงบประมาณ 2567 ในหมู่ที่ 1,3,5 ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำนวน 180 คน โดยทำความสะอาดช่องปากวันละ 2 ครั้ง จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 41.67 และทำความสะอาดช่องปากบางครั้งหรือไม่ทำความสะอาดเลย จำนวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 58.33 โรคฟันผุแม้เป็นโรคที่ไม่ส่งผลอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต แต่มักเป็นสาเหตุแรกๆที่ทำให้เกิดความรำคาญ ทั้งยัง มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจโดยรวมอีกด้วย โดยเฉพาะในเด็กกลุ่มก่อนวัยเรียน ซึ่งเป็น วัยที่กำลังเจริญเติบโตของพัฒนาการด้านสมอง เริ่มต้นการเรียนรู้ เด็กที่มีสุขภาพดีจะสามารถเรียนรู้ มีพัฒนาการเร็ว ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ดี และเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป ในทางตรงกันข้าม เด็กที่มีอาการปวดฟันบ่อย มักไม่มีสมาธิในการเรียนรู้ พัฒนาการก็จะช้า ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้และอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กในอนาคตต่อไปได้
การส่งเสริมป้องกันโรคฟันผุ สามารถป้องกันได้โดยง่ายทั้งยังมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาทันตกรรม ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าแตรู จึงได้จัดทำโครงการ ผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ ในหมู่ที่ 1,3,5 ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา โดยมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน ให้ความรู้และสร้างทัศนคติที่ดีและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการดูแลทันตสุขภาพของผู้ปกครองเด็กและปลูก จิตสำนึกให้เด็กรู้จักการแปรงฟันอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการ
- ขั้นดำเนินการ
- ขั้นประเมินผล
- 1. ประชุมคณะทำงาน เพื่อสำรวจข้อมูล พิจารณาหาแนวทางและวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ dkกาตอง
- ประชุมคณะทำงานและร่วมจัดหาสถานที่เครื่องมือ/อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน
- 1.สรุปปัญหาและแนวทางการแก้ไข 2. สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการและประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
- ผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติแก่เด็ก
- ผู้ปกครองเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปากและฟันของเด็กก่อนวัยเรียน
- กลุ่มเป้าหมายมีสภาวะทันตสุขภาพที่ดีขึ้นและสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชุมชนได้
- ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ
85.00
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) ขั้นประเมินผล (4) 1. ประชุมคณะทำงาน เพื่อสำรวจข้อมูล พิจารณาหาแนวทางและวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ dkกาตอง (5) ประชุมคณะทำงานและร่วมจัดหาสถานที่เครื่องมือ/อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน (6) 1.สรุปปัญหาและแนวทางการแก้ไข 2. สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4145-02-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวรอกีเยาะ ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ ”
ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวรอกีเยาะ ปูเตะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4145-02-09 เลขที่ข้อตกลง 009
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4145-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาตอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจการทำความสะอาดในช่องปากเด็กอายุ 0-3 ปี ปีงบประมาณ 2567 ในหมู่ที่ 1,3,5 ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา จำนวน 180 คน โดยทำความสะอาดช่องปากวันละ 2 ครั้ง จำนวน 75 คน คิดเป็นร้อยละ 41.67 และทำความสะอาดช่องปากบางครั้งหรือไม่ทำความสะอาดเลย จำนวน 105 คน คิดเป็นร้อยละ 58.33 โรคฟันผุแม้เป็นโรคที่ไม่ส่งผลอันตรายร้ายแรงถึงชีวิต แต่มักเป็นสาเหตุแรกๆที่ทำให้เกิดความรำคาญ ทั้งยัง มีผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพด้านร่างกายและจิตใจโดยรวมอีกด้วย โดยเฉพาะในเด็กกลุ่มก่อนวัยเรียน ซึ่งเป็น วัยที่กำลังเจริญเติบโตของพัฒนาการด้านสมอง เริ่มต้นการเรียนรู้ เด็กที่มีสุขภาพดีจะสามารถเรียนรู้ มีพัฒนาการเร็ว ทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้ดี และเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไป ในทางตรงกันข้าม เด็กที่มีอาการปวดฟันบ่อย มักไม่มีสมาธิในการเรียนรู้ พัฒนาการก็จะช้า ซึ่งสิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้และอาจส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของเด็กในอนาคตต่อไปได้
การส่งเสริมป้องกันโรคฟันผุ สามารถป้องกันได้โดยง่ายทั้งยังมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาทันตกรรม ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านป่าแตรู จึงได้จัดทำโครงการ ผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ ในหมู่ที่ 1,3,5 ตำบลกาตอง อำเภอยะหา จังหวัดยะลา โดยมุ่งเน้นการส่งเสริม ป้องกัน ให้ความรู้และสร้างทัศนคติที่ดีและการปฏิบัติที่ถูกต้องในการดูแลทันตสุขภาพของผู้ปกครองเด็กและปลูก จิตสำนึกให้เด็กรู้จักการแปรงฟันอย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขั้นเตรียมการ
- ขั้นดำเนินการ
- ขั้นประเมินผล
- 1. ประชุมคณะทำงาน เพื่อสำรวจข้อมูล พิจารณาหาแนวทางและวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ dkกาตอง
- ประชุมคณะทำงานและร่วมจัดหาสถานที่เครื่องมือ/อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน
- 1.สรุปปัญหาและแนวทางการแก้ไข 2. สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการและประเมินผลโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กก่อนวัยเรียนได้รับการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันอย่างถูกวิธี
- ผู้ปกครองได้รับการฝึกแปรงฟันแบบลงมือปฏิบัติแก่เด็ก
- ผู้ปกครองเด็กมีทัศนคติที่ดีในการดูแลความสะอาดช่องปากและฟันของเด็กก่อนวัยเรียน
- กลุ่มเป้าหมายมีสภาวะทันตสุขภาพที่ดีขึ้นและสามารถเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ชุมชนได้
- ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากและฟัน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ |
85.00 | 90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขั้นเตรียมการ (2) ขั้นดำเนินการ (3) ขั้นประเมินผล (4) 1. ประชุมคณะทำงาน เพื่อสำรวจข้อมูล พิจารณาหาแนวทางและวางแผนการดำเนินงาน 2.เขียนโครการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติ dkกาตอง (5) ประชุมคณะทำงานและร่วมจัดหาสถานที่เครื่องมือ/อุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นต้องใช้ในการดำเนินงาน (6) 1.สรุปปัญหาและแนวทางการแก้ไข 2. สรุปผลการปฏิบัติงานโครงการและประเมินผลโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้ปกครองใส่ใจ เพื่อลูกรักไร้ฟันผุ จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4145-02-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวรอกีเยาะ ปูเตะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......