โครงการคุมครองผู้บริโภค ห่วงใยความปลอดภัย
ชื่อโครงการ | โครงการคุมครองผู้บริโภค ห่วงใยความปลอดภัย |
รหัสโครงการ | 68-L5163-1-09 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ |
วันที่อนุมัติ | 4 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 31 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 5,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายสิทธา วิเชียรบุตร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเกาะใหญ่ อำเภอกระแสสินธุ์ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มวัยทำงาน | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 10 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ด้วยกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายดำเนินการด้านเฝ้าระวัง คุ้มครองผู้บริโภค ที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอาง ร้านขายของชำในหมู่บ้าน เป็นต้น ซึ่งในส่วนของผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพเหล่านี้มีผู้เกี่ยวข้องหลายส่วน เช่น ผู้ผลิต ผู้จำหน่าย ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพเจือปนสารอันตรายลงไปหรือไม่ได้มาตรฐาน จะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจนอาจทำให้เสียชีวิตได้ และจากการสำรวจพบว่าชาวบ้านส่วนใหญ่นิยมซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคในร้านขายของชำในหมู่บ้าน เนื่องจากสะดวกในการซื้อสินค้า และเป็นร้านที่จำหน่ายสินค้าหลากหลายชนิด เช่น ยา เครื่องสำอาง อาหารสำเร็จรูป เครื่องปรุงรส อาหารแปรรูป แต่จากการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค พบว่า การใช้เครื่องอุปโภคบริโภคที่ไม่ได้มาตรฐานจากร้านขายของชำในชุมชน ไม่ว่าจะเป็นร้านขายยของชำ ซึ่งผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่มีความรู้ที่ชัดเจนเกี่ยวกับการเลือกผลิตภัณฑ์อาหาร เครื่องสำอางที่มีคุณภาพ ควววามรู้เรื่องประเภทของยาแต่ละชนิดที่สามารถจำหน่ายได้ในร้านขายของชำ และจำหน่ายให้กับร้าานค้าในชุมชนได้ สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้บริโภคทั้งสิ้นโดยเฉพาะในประชากรกลุ่มเสี่ยง เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง และนักเรียน ทั้งนี้เพื่อเฝ้าระวังความปลอดภัยในชุมชน เพื่อให้ชุมชนปลอดภัยจากการบริโภคอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านไร่ จึงจัดโครงการคุ้มครองผู้บริโภค ห่วงใยความปลอดภัยขึ้น |
0.50 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้เกิดความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ร้อยละ 80 ของร้านขายของชำในชุมชนปลอดจากการจำหน่ายยา ที่ไม่สามารถจำหน่ายในร้านขายของชำ |
0.50 | 1.00 |
2 | เพื่อให้ผู้ประกอบการแและประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิติภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ ผู้ประกอบการแและประชากรกลุ่มเสี่ยง มีความรู้เกี่ยวกับอาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิติภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพหลังเข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 |
0.50 | 1.00 |
3 | เพื่อเฝ้าระวังการขายยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพในร้านขายของชำ ร้อยละ 100 ของร้านขายของชำในพื้นที่ได้รับการตรวจสอบ/ติดตาม และเฝ้าระวัง |
0.50 | 1.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 5,200.00 | 0 | 0.00 | |
1 ม.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมให้ความรู้แก่ผู้ประกอบการและประชากรกลุ่มเสี่ยง | 0 | 5,200.00 | - |
1.ผู้บริโภคมีความปลอดภัยจากการใช้ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพ 2.ผู้ประกอบการร้านขายของชำสามารถเลือกซื้ออาหาร ยา เครื่องสำอาง ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และบริการสุขภาพที่มีคุณภาพมาจำหน่ายให้กับผู้บริโภค 3.ร้านขายของชำในพื้นที่ได้รับการเฝ้าระวัง/ตรวจสอบตามกฎหมาย
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 2568 00:00 น.