กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการสตรีสะปอมพิชิตโรคมะเร็ง
รหัสโครงการ 61-L2491-1-6
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านสะปอม
วันที่อนุมัติ 30 พฤศจิกายน 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2561 - 31 มกราคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 13,200.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวอายูซะ เละดุวี
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.404,101.862place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการตายในผู้หญิงเป็นอันดับหนึ่งในประเทศไทย สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนาอย่างประเทศ และโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดระหว่างอายุ 45 - 50 ปี ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก เพื่อค้นหาผู้ป่วย และสามารถเข้ารักษาการทันเวลา และถูกวิธี โดยเน้นให้ประชาชนเข้าถึงบริการทั้งข้อมูลข่าวสาร การใช้บริการตรวจคัดกรอง (ทั้งวิธี VIA และ PAP" s smear) การดำเนินนงานป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในปีที่ผ่านมา พบประเด็นที่ต้องพัฒนา คือ ผลการดำเนินงานไม่บรรลุเป้าหมาย ซึ่งกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจเพียงร้อยละ 21.77 เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายไมเพียงพอเกี่ยวกับโรคความกลัวเจ็บรับไม่ได้ถ้าหากรู้ว่าตนเองเป็นโรคมะเร็งจริงๆ คิดว่าไม่เป็นโรค ยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค และมีความอายในการมาตรวจกับเจ้าหน้าที่ที่รู้ๆจักกัน ในรายที่ตวรจที่คลีนนิกเอกชนก็ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งหมด นอกจากนี้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมวิถีชีวิตของผู้คนในพื้นที่ ยิ่งทำให้การดูแลสุขภาพกลายเป็นเรื่องที่มีมิติทางความรู้สึกที่ซับซ้อนมาก ดังนั้น การดำเนินงานด้านสุขภาวะในพื้นที่ จึงเป็นเรื่องละเอียดอ่อน โดยเฉพาะสตรีในมุสลิม ดังนี้ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะปอม จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปาดมดลูกในหญิงอายุ 30-60 ปี จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็ง

กลุ่มเป้าหมายมีควาสมรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและปากมดลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 60

0.00
2 เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์มีการตรวจคัดกรองมะเร็งเพิ่มขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมารับบริการตรวจคัดกรองหาเซลล์มะเร็งปากมดลูก อย่างน้อยร้อยละ 20

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการตายในผู้หญิงเป็นอันดับหนึ่งในประเทศ สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนาอย่างประเทศไทย และโรคปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ 6,300 ราย พบมากที่สุดในระหว่างอายุ 45 - 50 ปี ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพื่อค้นหาผู้ป่วย และสามารถเข้ารับการรักษาทันเวลา และถูกวิธี โดยเน้นให้ประชาชนเข้าถึงบริการทั้งข้อมูลข่าวสาร การใช้บริการตรวจคัดกรอง (ทั้งวิธี VIA และ PAP's smear)
การดำเนินงานป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกในปีที่ผ่านมา พบประเด็นที่ต้องพัฒนา คือ ผลการดำเนินงานไม่บรรลุเป้าหมาย ซึ่งกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจเพียงร้อยล่ะ 21.77 เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ไม่เพียงพอเกี่ยวกับโรค มีความกลัวเจ็บ รับไม่ได้ถ้าหากรู้ว่าตัวเองเป็นโรคมะเร็งจริง คิดว่าไม่เป็นโรค ยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค และมีความอายในการมาตรวจกับเจ้าหน้าที่ๆรู้จักกัน ในรายที่ตรวจคลีนิกเอกชนก็ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งหมด นอกจากนี้ความตกต่างทางวัฒนธรรมวิถีชีวิตของผู้คนในพื้นที่ ยิ่งทำให้การดูแลสุขภาพกลายเป็นเรื่องที่มีมิติทางความรู้สึกที่ซับซ้อนมาก ดังนั้น การดำเนินงานด้านสุขภาวะในพื้นที่ จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อนโดยเฉพาะในสตรีมุสลิม ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะปอม จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกในหญิงอายุ 30 - 60 ปี จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นร้อยละ 60
  2. กลุ่มเป้าหมายมารับบริการตรวจคัดกรองหาเซลล์มะเร็งปากมดลูก อย่างน้อยร้อยละ 20
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 11 ม.ค. 2561 15:10 น.