โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด ”
ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูชารีฟ โตะกีแม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก
มิถุนายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด
ที่อยู่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 001/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาสำคัญในเด็กและเยาวชน มียาเสพติดชนิดใหม่ๆที่เด็กและเยาวชนอาจหลงผิดได้จากสื่อออนไลน์และเพื่อนๆที่ชักจูง รวมทั้งวัยอยากรู้อยากเห็นที่ต้องการ อยากลองสิ่งแปลกใหม่ โดยเด็กวัยรุ่นชายอาจเริ่มจากการลองบุหรี่ และในพื้นที่ยังมีเยาวชนที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงในการถูกชักพา หรืออยู่ในครอบครัวที่มีบุคคลที่ติดน้ำกระท่อม อาจส่งผลให้เด็กเข้าสู่วังวนยาเสพติดได้ แล้วเมื่อเข้าสู่วงจรของยาเสพติดไม่ว่าชนิดใด ย่อมส่งผลสืบเนื่องให้เกิดปัญหาสังคมหลากหลายตามมาบั่นทอนคุณภาพชีวิตและความสงบร่มเย็นของผู้คนในสังคมชุมชนทรัพยากรบุคคลของประเทศจำนวนไม่น้อยยังมีส่วนเกี่ยวพันและได้รับผลกระทบจากยาเสพติด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนที่ถือเป็นกำลังสำคัญของชาติ สถานการณ์ปัจจุบันพบว่ายังคงมีเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งย่อมส่งผลกระทบต่อคุณภาพประชากรและการพัฒนาประเทศอันหมายถึงการบั่นทอนความเจริญ ความผาสุกและความมั่นคงของชาติอย่างมหาศาลในอนาคตจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วนในการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะเยาวชนในสถานศึกษาที่จะเป็นกำลังของชาติต่อไป จึงเกิดเป็นโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำป้องกันปัญหายาเสพติด “เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด”ทั้งนี้ โครงการนี้ได้เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้แสดงพลังในการเฝ้าระวังและร่วมต่อต้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีส่วนร่วมรณรงค์ให้เด็ก เยาวชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
สภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรักตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นอย่างยิ่ง จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด ขึ้นเพื่อร่วมกันรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของภัย และการป้องกันภัยจากยาเสพติด ความเข้าใจในการดำเนินงานเพื่อการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม
- กิจกรรมจัดอบรมปฏิบัติการสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เกิดแกนนำเยาวชนที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของภัย และการป้องกันภัยจากยาเสพติด
๒. เด็กและเยาวชนในพื้นที่ มีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
๓. เด็กและเยาวชนสามารถดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อการระวังภัย ปัญหายาเสพติดได้
๔. เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมอบรม สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองในการเป็นแกนนำให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและและสามารถเผยแพร่ต่อได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของภัย และการป้องกันภัยจากยาเสพติด ความเข้าใจในการดำเนินงานเพื่อการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของจำนวนเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจสามารถนำความรู้เกี่ยวกับภัยของยาเสพติด การป้องกัน แก้ไข เกี่ยวกับปัญหาของยาเสพติด และเผยแพร่ต่อได้
90.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
70
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของภัย และการป้องกันภัยจากยาเสพติด ความเข้าใจในการดำเนินงานเพื่อการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมจัดอบรมปฏิบัติการสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมูชารีฟ โตะกีแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด ”
ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูชารีฟ โตะกีแม
มิถุนายน 2568
ที่อยู่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 001/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหายาเสพติด เป็นปัญหาสำคัญในเด็กและเยาวชน มียาเสพติดชนิดใหม่ๆที่เด็กและเยาวชนอาจหลงผิดได้จากสื่อออนไลน์และเพื่อนๆที่ชักจูง รวมทั้งวัยอยากรู้อยากเห็นที่ต้องการ อยากลองสิ่งแปลกใหม่ โดยเด็กวัยรุ่นชายอาจเริ่มจากการลองบุหรี่ และในพื้นที่ยังมีเยาวชนที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงในการถูกชักพา หรืออยู่ในครอบครัวที่มีบุคคลที่ติดน้ำกระท่อม อาจส่งผลให้เด็กเข้าสู่วังวนยาเสพติดได้ แล้วเมื่อเข้าสู่วงจรของยาเสพติดไม่ว่าชนิดใด ย่อมส่งผลสืบเนื่องให้เกิดปัญหาสังคมหลากหลายตามมาบั่นทอนคุณภาพชีวิตและความสงบร่มเย็นของผู้คนในสังคมชุมชนทรัพยากรบุคคลของประเทศจำนวนไม่น้อยยังมีส่วนเกี่ยวพันและได้รับผลกระทบจากยาเสพติด โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชนที่ถือเป็นกำลังสำคัญของชาติ สถานการณ์ปัจจุบันพบว่ายังคงมีเยาวชนเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ซึ่งย่อมส่งผลกระทบต่อคุณภาพประชากรและการพัฒนาประเทศอันหมายถึงการบั่นทอนความเจริญ ความผาสุกและความมั่นคงของชาติอย่างมหาศาลในอนาคตจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องร่วมมือร่วมใจจากทุกภาคส่วนในการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยเฉพาะเยาวชนในสถานศึกษาที่จะเป็นกำลังของชาติต่อไป จึงเกิดเป็นโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำป้องกันปัญหายาเสพติด “เยาวชนรุ่นใหม่ ห่างไกลยาเสพติด”ทั้งนี้ โครงการนี้ได้เปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนได้แสดงพลังในการเฝ้าระวังและร่วมต่อต้านยาเสพติดอย่างต่อเนื่อง ตลอดจนมีส่วนร่วมรณรงค์ให้เด็ก เยาวชนและประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด สภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรักตระหนักถึงคุณค่าและความสำคัญกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดเป็นอย่างยิ่ง จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด ขึ้นเพื่อร่วมกันรณรงค์ให้เยาวชนและประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหายาเสพติด
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของภัย และการป้องกันภัยจากยาเสพติด ความเข้าใจในการดำเนินงานเพื่อการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม
- กิจกรรมจัดอบรมปฏิบัติการสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เกิดแกนนำเยาวชนที่มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของภัย และการป้องกันภัยจากยาเสพติด
๒. เด็กและเยาวชนในพื้นที่ มีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
๓. เด็กและเยาวชนสามารถดำเนินการจัดกิจกรรมเพื่อการระวังภัย ปัญหายาเสพติดได้
๔. เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมอบรม สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองในการเป็นแกนนำให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดและและสามารถเผยแพร่ต่อได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของภัย และการป้องกันภัยจากยาเสพติด ความเข้าใจในการดำเนินงานเพื่อการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัด : ร้อยละของจำนวนเด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจสามารถนำความรู้เกี่ยวกับภัยของยาเสพติด การป้องกัน แก้ไข เกี่ยวกับปัญหาของยาเสพติด และเผยแพร่ต่อได้ |
90.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 70 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างแกนนำเยาวชนให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องของภัย และการป้องกันภัยจากยาเสพติด ความเข้าใจในการดำเนินงานเพื่อการป้องกัน แก้ไข และเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมประชุมเตรียมความพร้อม (2) กิจกรรมจัดอบรมปฏิบัติการสภาเด็กและเยาวชนตำบลดอนรัก
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเยาวชนร่วมใจ รอยยิ้มสดใสห่างไกลยาเสพติด จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมูชารีฟ โตะกีแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......