โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือด
ชื่อโครงการ | โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือด |
รหัสโครงการ | 68-L1521-01-13 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเสใหญ่ |
วันที่อนุมัติ | 21 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 16,550.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายชาติชาย สุทธิธรรมานนท์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลกะลาเส อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.744,99.326place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ก.พ. 2568 | 30 ก.ย. 2568 | 16,550.00 | |||
รวมงบประมาณ | 16,550.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ข้อมูลจากสมาพันธ์หัวใจโลก (World Heart Federation, WHF) ระบุว่า โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับ 1 ของโลก ทั่วโลกพบผู้เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่า 20.5 ล้านคนต่อปี และร้อยละ 85 ของการเสียชีวิตเกิดจากอาการหัวใจวายและโรคหลอดเลือดสมอง สำหรับประเทศไทยข้อมูลจากระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข (Health Data Center) ปี 2566 พบว่ามีจำนวนผู้ป่วยสะสมด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดมากกว่า 2.5 แสนราย และเสียชีวิต ด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดมากถึง 4 หมื่นราย เฉลี่ยชั่วโมงละ 5 คน
ปี 2567 ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดรายใหม่ จำนวน 178,106 คนคิดเป็นร้อยละ283.12ต่อแสนประชากร (HDC report กระทรวงสาธารณสุข 26 พย.2567)
ปี 2567 จังหวัดตรังพบผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดรายใหม่ จำนวน 2,754 คนคิดเป็นร้อยละ444.48ต่อแสนประชากร (HDC report กระทรวงสาธารณสุข 26 พย.2567)
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านกะลาเสใหญ่ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงเพื่อป้องกันภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือดขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อลดอัตราการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง
2.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และรู้วิธีการป้องกันโรคหัวใจและหลอดเลือด 1.ร้อยละ 5 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูงที่มีค่า CVD risk ระดับเสี่ยงสูง ไม่เกิดภาวะโรคหัวใจและหลอดเลือด ภายใน 3 เดือนหลังเสร็จสิ้นโครงการ 2.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคหัวใจและหลอดเลือด |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 76 | 16,550.00 | 0 | 0.00 | 16,550.00 | |
14 ก.พ. 68 - 14 ก.ย. 68 | 1.ประชุมวางแผน 2.จัดทําโครงการ 3.ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมาย 4. คัดเลือกกลุ่มเป้าหมาย 5. ประสานวิทยากร 6. ดำเนินการตามแผนกิจกรรมที่ระบุไว้ | 76 | 16,550.00 | - | - | ||
รวมทั้งสิ้น | 76 | 16,550.00 | 0 | 0.00 | 16,550.00 |
1.ผู้สูงอายุมีสุขภาพที่ดีของทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม
2.ผู้สูงอายุได้ร่วมกิจกรรม มีการพบปะพูดคุยมีกำลังใจ สร้างความรัก ความอบอุ่น ความสัมพันธ์ที่ดี
ระหว่างผู้สูงอายุกับคนทุกวัยให้อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
3.แกนนำผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรม จะสามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ให้กับผู้สูงอายุรายอื่น ให้
มองเห็นคุณค่า ประโยชน์ของการได้เข้าร่วมกิจกรรม เกิดการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุที่ติดบ้านอยากออกมา
พบปะเพื่อนวัยเดียวกัน ลดความเครียด คลายความเหงา และมีความสุข มองเห็นคุณค่าของตนเอง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2568 14:34 น.