ต้นแบบวิถีเยาวชนสมดุลสุนทรียห่างไกลยาเสพติด
ชื่อโครงการ | ต้นแบบวิถีเยาวชนสมดุลสุนทรียห่างไกลยาเสพติด |
รหัสโครงการ | 68-L5279-02-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กลุ่มสมดุลสุนทรีย มูลนิธิอันวีกษณา |
วันที่อนุมัติ | 4 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 มิถุนายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 38,140.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | 1.นางวาณีรัตน์ ศรประสิทธิ์ 2.นางอัมพร ศรประสิทธิ์ 3.นายนรากร พิมล 4.นางสาวชุติกาญจน์ บุญชูช่วย 5.นางสาวณฐมน วุ่นซิ้ว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.837,100.558place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 80 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | การติดยาเสพติดในปัจจุบัน นับว่าเป็นปัญหาสังคมที่ร้ายแรง ถึงแม้ว่าจะมีมาตรการและนโยบายต่างๆ ที่เป็นการป้องกัน และแก้ไขมาอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้สถานการณ์แพร่ระบาด ของผู้ติดยาเสพติดมีแนวโน้มที่จะเป็นกลุ่มที่มีอายุน้อยลงเรื่อยๆ เด็กและเยาวชนมีการใช้ยาเสพติดมาก | 80.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อฝึกทักษะการดำรงชีวิตขั้นพื้นฐานด้วยการพึ่งพาตนเอง พร้อมยกระดับกระบวนการจิตและจิตใจให้เกิดความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกันต่อสิ่งเร้าและปัจจัยเสี่ยงยาเสพติด
|
||
2 | เพื่อสร้างต้นแบบเยาวชนคุณภาพ “เยาวชนแกนกล้า พาเพื่อนห่างไกลยาเสพติด” และสามารถถ่ายทอดส่งต่อองค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่นในการสร้างสมดุลสุนทรีย ให้ชุมชนพะตงห่างไกลยาเสพติด
|
||
3 | เพื่อพัฒนานวัตกรรมกระบวนการจัดการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมระหว่างเยาวชน ชุมชน และผู้จัดกระบวนการ
|
รวมทั้งสิ้น | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | 0.00 |
1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมเกิดทักษะการพึ่งพาตนเอง สามารถสะท้อนการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ความคิด และความรู้สึกได้ 2.เกิดแกนนำเยาวชนต้นแบบ “เยาวชนแกนกล้า พาเพื่อนห่างไกลยาเสพติด” ที่มีทักษะความสามารถแล้วกลับมาเป็นพี่เลี้ยงค่ายเยาวชนสมดุลสุนทรียครั้งที่ 2 และ ชักชวนเพื่อนห่างไกลยาเสพติด 3.เกิดเครือข่ายสายสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างเยาวชนกับสมาชิกในชุมชนบ้านเกิดและชุมชนเครือข่าย 4.เกิดนวัตกรรมการจัดกระบวนการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมเพื่อมีชีวิตที่สมดุล มีความสุข พึ่งพาตนเองได้ 5.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถออกแบบปฏิบัติการพึ่งพาตนเองและนำไปใช้ปฏิบัติได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 ก.พ. 2568 16:19 น.