โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time) ”
ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายมะยูโซ๊ะ สามะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time)
ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2486-2-01 เลขที่ข้อตกลง 20/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2486-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจขององคืการอนามัยโลกพบว่าในประชากร 4 คน มักจะมีผู้มีสุขภาพทางจิต 1 คน และอีก 2 คน เป็นผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพทางจิต เช่น คนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เป็นต้น สำหรับโรคทางจิตเวชประเทศไทย มีผู้ป่วยทางจิตทั้งหมดจำนวน 1,152,044 ราย ส่วนใหญ่จะเริ่มป่วยในช่วงปลายวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่อายุระหว่าง 15 - 35 ปี ซึ่งเป็นช่วงชีวิตของการทำงานและการสร้างครอบครัว และจากการศึกษาดัชนีวัดความสูญเสียทางสุขภาพหรือ DALYs พบว่าในปี พ.ศ. 2562 คนไทยสูญเสียสุขภาวะ (DALYs) ทั้งที่ควรจะมีชีวิตอยู่อย่างสุขภาพดี โดยอันดับแรกสำหรับเพศชาย มีโรคซึมเศร้าอยู่ในอับดับที่ 10 และในเพศหญิง มีโรคซึมเศร้าอยู่อันดับที่ 3 การสำรวจระดับชาติล่าสุดในปี 2561 พบคนไทยร้อยละ 14 หรือ 9 ล้านกว่าคน
ข้อมูลจากสมาคมสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย พบว่า โรคซึมเศร้าพบมากในเพศหญิงมากกว่ามีหลักฐานจำนวนมากที่แสดงให้เห็นว่า เพศภาวะ (Gender) ที่สังคมกำหนดว่า เพศหญิงและเพศชายควรมีบทบาทและพฤติกรรมที่เหมาะสมอย่างไร มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิตของบุคคล แต่ยังไม่มีข้อมูลเชิงประจักษ์จากการศึกษาในสังคมไทย วัตถุประสงค์ เพื่อเสนอประเด็นเพศภาวะที่มีความเกี่ยวข้องกับการเป็นโรคซึมเศร้าในผู้หญิงไทย
จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าปัญหาสุขภาพจิตและโรคจิตเวช เป็นปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับประชาชนจำนวนมากโดยเฉพาะในเพศหญิง เมื่อเกิดขึ้นแล้วส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตโดยเฉพาะกลุ่มแม่บ้านที่มีภาระหน้าที่ที่ต้องทำงานตลอดจนดูแลครอบครัวและคนใกล้ชิด ชุมชุนหากมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีและมีแนวทางในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตก็จะช่วยลดสถานการณ์ปัญหาและผลกระทบเหล่านี้ลงได้ การส่งเสริมสุขภาพจิตคือ การส่งเสริมให้ประชาชนได้รับการดูแลทางสังคมจิตใจให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการดูแลตนเอง และอยู่ในสิ่งแวดล้อมครอบครัว สังคม ชุมชน ที่เอื้ออำนวยต่อการมีสุขภาพจิตที่ดีโดยให้สอดคล้องกับสังคมพหุวัฒนธรรม ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพจิตจึงเกิดจากการที่สังคมชุมชนดูแลคุณภาพชิตของประชาชนการจัดบริการสุขภาพแบบองค์รวมทั้งร่างกายจิตใจและการที่ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลจิตใจตนเอง และการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต คือ การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชโดยการลดปัจจัยเสี่ยง เช่น ความเครียดระยะยาว ความก้าวร้าวรุนแรงและเพิ่มปัจจัยปกป้อง เช่น การให้กำลังใจการรวมกลุ่มแม่บ้านจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มจิตวิญญาณโดยใช้แนวคิดศาสนาอิสลามให้มีการบูรณาการร่วมกันอย่างเหมาะสมกับคนในชุมชนมุสลิมของจังหวัดนราธิวาส
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มสตรีเพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต
2.เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาแก่สตรี
3.เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า การฆ่าตัวตาย กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพจิต และได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงที หากเกิดภาวะผิดปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 1
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 2
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 3
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 4
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 5
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 6
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีเครือข่ายกลุ่มสตรี เพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต ดูแลส่งต่อหรือเป็นกระบอกเสียงให้แก่ผู้โดนกระทำทางด้านจิตใจ
2.ผู้รับอบรมมีภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อจิตใจไม่เกิดโรคซึมเศร้า มีการจัดการความเครียดอย่างเหมาะสม ไม่พบอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายของสตรีในเขตตำบลไพรวัน
3.กลุ่มแม่บ้านบ้านมีความสุขและสุขภาพจิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มสตรีเพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต
2.เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาแก่สตรี
3.เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า การฆ่าตัวตาย กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพจิต และได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงที หากเกิดภาวะผิดปกติ
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีเครือข่ายกลุ่มสตรีเพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต
2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีภูมิคุ้มกันทางใจโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาแก่สตรี
3.ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพจิต และได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงที
0.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
0
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มสตรีเพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต
2.เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาแก่สตรี
3.เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า การฆ่าตัวตาย กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพจิต และได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงที หากเกิดภาวะผิดปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 1 (2) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 2 (3) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 3 (4) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 4 (5) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 5 (6) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 6
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2486-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมะยูโซ๊ะ สามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time) ”
ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นายมะยูโซ๊ะ สามะ
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2486-2-01 เลขที่ข้อตกลง 20/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลไพรวัน อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2486-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,520.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ไพรวัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจขององคืการอนามัยโลกพบว่าในประชากร 4 คน มักจะมีผู้มีสุขภาพทางจิต 1 คน และอีก 2 คน เป็นผู้ได้รับผลกระทบจากปัญหาสุขภาพทางจิต เช่น คนในครอบครัว ญาติพี่น้อง เป็นต้น สำหรับโรคทางจิตเวชประเทศไทย มีผู้ป่วยทางจิตทั้งหมดจำนวน 1,152,044 ราย ส่วนใหญ่จะเริ่มป่วยในช่วงปลายวัยรุ่น หรือวัยผู้ใหญ่อายุระหว่าง 15 - 35 ปี ซึ่งเป็นช่วงชีวิตของการทำงานและการสร้างครอบครัว และจากการศึกษาดัชนีวัดความสูญเสียทางสุขภาพหรือ DALYs พบว่าในปี พ.ศ. 2562 คนไทยสูญเสียสุขภาวะ (DALYs) ทั้งที่ควรจะมีชีวิตอยู่อย่างสุขภาพดี โดยอันดับแรกสำหรับเพศชาย มีโรคซึมเศร้าอยู่ในอับดับที่ 10 และในเพศหญิง มีโรคซึมเศร้าอยู่อันดับที่ 3 การสำรวจระดับชาติล่าสุดในปี 2561 พบคนไทยร้อยละ 14 หรือ 9 ล้านกว่าคน
ข้อมูลจากสมาคมสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย พบว่า โรคซึมเศร้าพบมากในเพศหญิงมากกว่ามีหลักฐานจำนวนมากที่แสดงให้เห็นว่า เพศภาวะ (Gender) ที่สังคมกำหนดว่า เพศหญิงและเพศชายควรมีบทบาทและพฤติกรรมที่เหมาะสมอย่างไร มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิตของบุคคล แต่ยังไม่มีข้อมูลเชิงประจักษ์จากการศึกษาในสังคมไทย วัตถุประสงค์ เพื่อเสนอประเด็นเพศภาวะที่มีความเกี่ยวข้องกับการเป็นโรคซึมเศร้าในผู้หญิงไทย
จากข้อมูลสถานการณ์ดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าปัญหาสุขภาพจิตและโรคจิตเวช เป็นปัญหาสุขภาพที่เกิดขึ้นกับประชาชนจำนวนมากโดยเฉพาะในเพศหญิง เมื่อเกิดขึ้นแล้วส่งผลกระทบอย่างมากต่อการดำเนินชีวิตโดยเฉพาะกลุ่มแม่บ้านที่มีภาระหน้าที่ที่ต้องทำงานตลอดจนดูแลครอบครัวและคนใกล้ชิด ชุมชุนหากมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพจิตที่ดีและมีแนวทางในการป้องกันปัญหาสุขภาพจิตก็จะช่วยลดสถานการณ์ปัญหาและผลกระทบเหล่านี้ลงได้ การส่งเสริมสุขภาพจิตคือ การส่งเสริมให้ประชาชนได้รับการดูแลทางสังคมจิตใจให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการดูแลตนเอง และอยู่ในสิ่งแวดล้อมครอบครัว สังคม ชุมชน ที่เอื้ออำนวยต่อการมีสุขภาพจิตที่ดีโดยให้สอดคล้องกับสังคมพหุวัฒนธรรม ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพจิตจึงเกิดจากการที่สังคมชุมชนดูแลคุณภาพชิตของประชาชนการจัดบริการสุขภาพแบบองค์รวมทั้งร่างกายจิตใจและการที่ประชาชนมีศักยภาพในการดูแลจิตใจตนเอง และการป้องกันปัญหาสุขภาพจิต คือ การป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาสุขภาพจิตและโรคทางจิตเวชโดยการลดปัจจัยเสี่ยง เช่น ความเครียดระยะยาว ความก้าวร้าวรุนแรงและเพิ่มปัจจัยปกป้อง เช่น การให้กำลังใจการรวมกลุ่มแม่บ้านจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มจิตวิญญาณโดยใช้แนวคิดศาสนาอิสลามให้มีการบูรณาการร่วมกันอย่างเหมาะสมกับคนในชุมชนมุสลิมของจังหวัดนราธิวาส
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มสตรีเพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต 2.เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาแก่สตรี 3.เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า การฆ่าตัวตาย กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพจิต และได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงที หากเกิดภาวะผิดปกติ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 1
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 2
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 3
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 4
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 5
- กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 6
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.มีเครือข่ายกลุ่มสตรี เพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต ดูแลส่งต่อหรือเป็นกระบอกเสียงให้แก่ผู้โดนกระทำทางด้านจิตใจ 2.ผู้รับอบรมมีภูมิคุ้มกันในการจัดการกับสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อจิตใจไม่เกิดโรคซึมเศร้า มีการจัดการความเครียดอย่างเหมาะสม ไม่พบอุบัติการณ์ฆ่าตัวตายของสตรีในเขตตำบลไพรวัน 3.กลุ่มแม่บ้านบ้านมีความสุขและสุขภาพจิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มสตรีเพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต
2.เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาแก่สตรี
3.เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า การฆ่าตัวตาย กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพจิต และได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงที หากเกิดภาวะผิดปกติ ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีเครือข่ายกลุ่มสตรีเพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต 2.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีภูมิคุ้มกันทางใจโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาแก่สตรี 3.ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพจิต และได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงที |
0.00 | 0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 0 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างเครือข่ายกลุ่มสตรีเพื่อพัฒนาและส่งเสริมภาวะสุขภาพจิต
2.เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางใจโดยใช้คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักศาสนาแก่สตรี
3.เพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า การฆ่าตัวตาย กลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพจิต และได้รับการส่งต่ออย่างทันท่วงที หากเกิดภาวะผิดปกติ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 1 (2) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 2 (3) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 3 (4) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 4 (5) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 5 (6) กิจกรรม สร้างเสริมสุขภาพจิตดีเติมเต็มสุขภาพใจด้วย ฮาลาเกาะห์ ครั้งที่ 6
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตเติมเต็มสุขภาพใจในกลุ่มสตรีและแม่บ้าน (Full Time) จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2486-2-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมะยูโซ๊ะ สามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......