directions_run
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง ปี 2568 |
รหัสโครงการ | L5297-68-03-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในชุมชนตำบลปาล์มพัฒนา |
วันที่อนุมัติ | 3 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 49,050.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอำนวย พิจิตบรรจง/นางรสสุคนธ์ คุ้มบ้าน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลปาล์มพัฒนา อำเภอมะนัง จังหวัดสตูล |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 35 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ ร้อยละ 90 ของผู้สูงอายุ เข้าร่วมอบรมตามเกณฑ์กิจกรรมกลุ่มทั้งหมด 1 ครั้ง/สัปดาห์ |
0.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้ตลอดชีวิต และส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มของผู้สูงอายุ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
3 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | จัดกิจกรรมการอบรมโดยรูปแบบหลักสูตรอบรมมีระยะเวลา 10 สัปดาห์ | 49,050.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- ลดอัตราการเกิดปัญหาด้านสุขภาพกายและใจของผู้สูงอายุทำให้มีสุขภาพแข็งแรง กระฉับกระเฉง ลดความเสี่ยงจากการเจ็บป่วย
- ผู้สูงอายุได้คลายเหงา จิตใจกระชุ่มกระช่วย สดชื่น รู้สึกภาคภูมิใจ และตระหนักในคุณค่า และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับคนวัยเดียวกันและคนต่างวัย ได้รับการยอมรับในฐานะสมาชิกของกลุ่ม
- รู้เท่าทันและเข้าใจสิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้น สามารถปรับตัวและดำเนินชีวิตได้อย่างเหมาะสม
- ผู้สูงอายุเกิดการเรียนรู้ แลกเปลี่ยนแนวทาง วิธีการในการส่งเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตจากกลุ่มอื่นๆ ถ่ายทอดประสบการณ์ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นให้ดำรงสืบทอดเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน เปิดโอกาสให้ผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทำประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม รวมทั้งอาจเป็นแรงผลักดันให้เข้าร่วมเป็นอาสาสมัครในชุมชน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 พ.ย. 2567 00:00 น.
project version 4.4.01 release 2022-02-13. ช่วยเหลือ