โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายประเสริฐ เพ็งภัตรา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L7012-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7012-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันมนุษย์มีการดำรงชีวิตและพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าปัจจัยทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และวิถีชีวิต จากปัจจัยดังกล่าวที่เปลี่ยนแปลงส่งผลทำให้เกิดการเจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรัง (เบาหวานและความดันโลหิตสูง) มากขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังและก่อให้เกิด ปัญหาต่อสุขภาพกับอวัยวะต่างๆ เช่น ตา ไต หัวใจ และระบบประสาทหลอดเลือด ซึ่งผู้ป่วยเบาหวานมักมี หลอดเลือดแดงแข็ง ( atherosclerosis ) ทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่พอ จนอาจทำให้ส้นเท้าเย็น เป็นตะคริว มีอาการชา ซึ่งทำให้ความรู้สึกสัมผัสบริเวณเท้าลดลง ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดบาดแผลที่เท้ามากขึ้น และถ้ามีอาการมากขึ้นจนทำให้หลอดเลือดอุดตัน เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายได้ เนื้อเยื่อดังกล่าวจะกลายเป็นเนื้อตายมีสีคล้ำดำจนต้องตัดเท้าซึ่งนำไปสู่ความพิการ ซึ่งทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง ซึ่งในแต่ละปีจะต้องมีค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยแล้ว จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยาเป็นประจำ พบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการด้านอารมณ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตำบลบางเขามีพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 7 หมู่บ้าน จากการดำเนินงานเฝ้าระวังตรวจคัดกรอง ในปีงบประมาณ 2566 เป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน 2,475 คนได้รับการคัดกรอง 2,471 คน ร้อยละ 97.01พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 406 คน สงสัยป่วย 61 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งรายใหม่และเก่าจำนวน 210 คน จากปัญหาดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางเขา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลรักษาเท้าในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน จึงได้จัดทำโครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่เท้าสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า ซึ่งอาการชาดังกล่าว สามารถรักษาได้หลายวิธี เช่น การนวดเท้า การแช่เท้าสมุนไพร ซึ่งการแช่เท้าสมุนไพร จะทำให้ เส้นโลหิตฝอยขยายตัว กระตุ้นให้โลหิตหมุนเวียนเร็วขึ้น ลดอาการตรึงเครียดของกล้ามเนื้อส่วนขา ขจัดความเมื่อยล้าได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการทำหัตถการ
- อบรมให้ความรู้
- ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการทำหัตถการ
- อบรมให้ความรู้
- จัดซื้ออุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้เรื่องการดูแลเท้าเบื้องต้นได้
- กลุ่มอสม.สามารถนำความรู้ที่ได้จากการทำโครงการ มาเผยแพร่ต่อประชาชนในหมู่บ้านให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้าและสามารถดูแลเท้าได้ด้วยตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
10
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้ป่วยโรคเบาหวาน (2) ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการทำหัตถการ (3) อบรมให้ความรู้ (4) ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการทำหัตถการ (5) อบรมให้ความรู้ (6) จัดซื้ออุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L7012-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายประเสริฐ เพ็งภัตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายประเสริฐ เพ็งภัตรา
กันยายน 2568
ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L7012-2-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางเขา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7012-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ่อทอง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันมนุษย์มีการดำรงชีวิตและพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าปัจจัยทั้งทางด้านสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และวิถีชีวิต จากปัจจัยดังกล่าวที่เปลี่ยนแปลงส่งผลทำให้เกิดการเจ็บป่วย ด้วยโรคเรื้อรัง (เบาหวานและความดันโลหิตสูง) มากขึ้น โดยเฉพาะโรคเบาหวาน เป็นโรคเรื้อรังและก่อให้เกิด ปัญหาต่อสุขภาพกับอวัยวะต่างๆ เช่น ตา ไต หัวใจ และระบบประสาทหลอดเลือด ซึ่งผู้ป่วยเบาหวานมักมี หลอดเลือดแดงแข็ง ( atherosclerosis ) ทำให้เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่พอ จนอาจทำให้ส้นเท้าเย็น เป็นตะคริว มีอาการชา ซึ่งทำให้ความรู้สึกสัมผัสบริเวณเท้าลดลง ซึ่งเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดบาดแผลที่เท้ามากขึ้น และถ้ามีอาการมากขึ้นจนทำให้หลอดเลือดอุดตัน เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงเนื้อเยื่อส่วนปลายได้ เนื้อเยื่อดังกล่าวจะกลายเป็นเนื้อตายมีสีคล้ำดำจนต้องตัดเท้าซึ่งนำไปสู่ความพิการ ซึ่งทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง ซึ่งในแต่ละปีจะต้องมีค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคเรื้อรังเหล่านี้เป็นจำนวนมาก ซึ่งเมื่อเจ็บป่วยแล้ว จำเป็นต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง การรับประทานยาเป็นประจำ พบแพทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ เช่น การออกกำลังกาย การรับประทานอาหาร การจัดการด้านอารมณ์เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน
ตำบลบางเขามีพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 7 หมู่บ้าน จากการดำเนินงานเฝ้าระวังตรวจคัดกรอง ในปีงบประมาณ 2566 เป้าหมายคัดกรองโรคเบาหวาน 2,475 คนได้รับการคัดกรอง 2,471 คน ร้อยละ 97.01พบกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 406 คน สงสัยป่วย 61 คน ผู้ป่วยโรคเบาหวานทั้งรายใหม่และเก่าจำนวน 210 คน จากปัญหาดังกล่าวชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลบางเขา ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการดูแลรักษาเท้าในกลุ่มผู้ป่วยเบาหวาน จึงได้จัดทำโครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่เท้าสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า ซึ่งอาการชาดังกล่าว สามารถรักษาได้หลายวิธี เช่น การนวดเท้า การแช่เท้าสมุนไพร ซึ่งการแช่เท้าสมุนไพร จะทำให้ เส้นโลหิตฝอยขยายตัว กระตุ้นให้โลหิตหมุนเวียนเร็วขึ้น ลดอาการตรึงเครียดของกล้ามเนื้อส่วนขา ขจัดความเมื่อยล้าได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้ป่วยโรคเบาหวาน
- ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการทำหัตถการ
- อบรมให้ความรู้
- ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการทำหัตถการ
- อบรมให้ความรู้
- จัดซื้ออุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานและผู้ดูแลผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้เรื่องการดูแลเท้าเบื้องต้นได้
- กลุ่มอสม.สามารถนำความรู้ที่ได้จากการทำโครงการ มาเผยแพร่ต่อประชาชนในหมู่บ้านให้เกิดประโยชน์สูงสุด
- ผู้ป่วยโรคเบาหวานตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลเท้าและสามารถดูแลเท้าได้ด้วยตนเอง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 10 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 50 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้และอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้ป่วยโรคเบาหวาน (2) ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการทำหัตถการ (3) อบรมให้ความรู้ (4) ค่าจัดซื้ออุปกรณ์ในการทำหัตถการ (5) อบรมให้ความรู้ (6) จัดซื้ออุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการรักษ์สุขภาพผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแช่ยาสมุนไพรเพื่อลดอาการชาปลายเท้า จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L7012-2-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายประเสริฐ เพ็งภัตรา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......