โครงการกำจัดเหาในนักเรียนด้วยสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการกำจัดเหาในนักเรียนด้วยสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L4150-02-01 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองยะหาโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชยะหา |
วันที่อนุมัติ | 1 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 15,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวซากียะห์ กาเร็ง |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 500 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคเหาเป็นโรคที่พบกันบ่อยมากใน กลุ่ม นักเรียนตั้งแต่ชั้นปฐมวัยจนถึงประถมศึกษาโดยพบว่ามีนักเรียนติดเหาประมาณ 80-90 % ซึ่งโรคเหานับเป็นโรคที่น่ารังเกียจ สำหรับคนทั่วไป นอกจากก่อให้เกิดความรำคาญกับผู้ที่เป็นเหาจากการมีอาการคันศีรษะแล้วยังทำให้เสียสมาธิในการเรียน เสียบุคลิกภาพ และยังเป็นพาหะนำไปติดผู้อื่นต่อไป วิธีการรักษาเหา จะต้องทำการรักษาผู้ที่เป็นเหาและผู้ที่อยู่ใกล้ชิดควบคู่กันไป โดยต้องทำการควบคุมไม่ให้เหาแพร่กระจาย และป้องกันไม่ให้เกิดการติดเหาซ้ำโดย ใช้ยาเพื่อฆ่าเหาซึ่งยามีทั้งในรูปครีมเจล หรือโลชั่น ซึ่งวิธีการรักษาเหาในรูปแบบดังกล่าวเป็นวิธีการที่ทำได้ง่าย และเห็นผลชัดเจน ดังนั้น โรงเรียนบ้านบาลูกายาอิง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพของนักเรียนที่เป็นโรคเหา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อกำจัดเหานักเรียนในโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลยะหา ศูนย์สุขภาพชุมชนเขตเมืองยะหา จึงได้จัดทำโครงการเหาหาย สบายหัว ปี 2568 โดยมีแนวคิดให้เด็กนักเรียนในโรงเรียนในเขตพื้นที่ตำบลยะหา เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและส่งเสริมให้เด็กมีสุขภาพดีและมีคุณภาพในการดำรงชีวิตประจำวัน
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครอง สามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง เครื่องนอน เพื่อรักษา และป้องกันโรคเหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการเยี่ยมบ้านติดตามการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง เครื่องนอน ร้อยละ 50 |
0.00 | |
2 | เพื่อให้นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาดเป็นการกำจัดแหล่งแพร่กระจายโรคเหา จำนวนนักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาด ร้อยละ100 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 15,000.00 | 0 | 0.00 | |
1 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | อบรมให้ความรู้นักเรียนและผู้ปกครองเรื่องการกำจัดเหาและสาธิตการทำน้ำยากำจัดเหาโดยภูมิปัญญาท้องถิ่น | 0 | 6,000.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | สาธิตการทำน้ำยากำจัดเหาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ให้แก่นักเรียนและผู้ปกครองที่เข้าร่วมอบรม | 0 | 9,000.00 | - |
1.ผู้ปกครองและนักเรียนสามารถดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายของตนเอง และเครื่องนอนได้ถูกต้อง 2.นักเรียนและผู้ปกครองสามารถนำสมุนไพรท้องถิ่นมาใช้ในการกำจัดเหาได้ 3.นักเรียนที่เป็นเหาได้รับการรักษาจนหายขาด 4.ไม่มีการเกิดเหาในนักเรียนรายใหม่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2568 10:23 น.