โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2)
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศทิชา รัตนเดช
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2)
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-2-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 178,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการศึกษาภาวะโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย พ.ศ. 2562 พบว่าปัจจัยเสี่ยงที่ก่ิให้เกิดการเสียชีวิตมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ ระดับน้ำตาลกลูโคสในพลาสมาสูง รองลงมา คือ บุหรี่หรือยาสูบ ความดันโลหิตสูง การบริโภคอาหารไม่เพียงพอหรือมากเกินไป และมลพิษทางอากาศตามลำดับ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคมากที่สุดในเพศชาย ได้แก่ บุหรี่หรือยาสูบ ร้อยละ 16.4 ของการสูญเสียปีสุขภาวะทั้งหมด ในเพศชาย รองลงมาคือ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งทำให้สูญเสียปีสุขภาวะ ร้อยละ 14.0 (รายงานภาระโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย,2562) ผลการสำรวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร พ.ศ.2564 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าแนวโน้มอัตราการสูฐบุหรี่ของประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ตั้งแต่ปี 2547 ถึงปี 2564 มีแนวโน้มลดลง จากร้อยละ 23 เป็นร้อยละ 17.4 โดยในภาคใต้มีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุด ร้อยละ22.4 ผู้สูบบุหรี่ส่วนใหญ่เริ่มสูบบุหรี่ครั้งแรกอายุ 18.5 ปี เพศชายมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ต่ำกว่าเพศหญิง ( 18.3 ปี และ 21.6 ปี ตามลำดับ) สำหรับสถานการณ์บุหรี่ไฟฟ้า จากการสำรวจสถานการณ์บุหรี่ไฟฟ้า ในปี 2564 พบว่ากลุ่มอายุ 15-24 ปี มีอัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 30.5 รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 25-59 ปี ร้อยละ 17.6 และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 2.3 (สำนักงานสติติแห่งชาติ,2564) นอกจากนี้ผลการสำรวจของกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการและองค์กรอนมัยโลกพบว่า การใช้บุหรี่ไฟฟ้าของเด็กนักเรียนไทย (อายุ 13-15 ปี) เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 3.3 ในปี 2558 เป็นร้อยละ 8.1 ในปี 2564
สถานการณ์การสูบบุหรี่ของจังหวักปัตตานี ปี 2550,2554,2557,2558,2560 และ 2564 มีอัตราการสูบบุหรี่ร้อยละ 32.26,29.10,28.08,25.67,23.4 และ 21.4 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มที่ลดลง อีกทั้งจากรายงานสถานการณ์แนวโน้มต้ายสุขภาพของประชาชนจังหวัดปัตตานี ปี 2565 พบว่า กลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการตายอันดับ 5 คือ โรคมะเร็งทุกชนิด มีอันตราย 68.24 ต่อประชากรแสนคน โดยพบว่าโรคมะเร็ง 5 อันดบแรก คือ 1.มะเร็งปอด 2.มะเร็งเต้านนม 3. มะเร็งลำไส้ไม่ระบุส่วน 4.มะเร็งตับ และ 5. มะเร็งลำไส้ใหญ่
จากการสำรวจนักเรียนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 และ มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 2 ในพื้นที่ 5 จังหวัดชายเเดนภาคใต้ จำนวน 5,777 คน ในจำนวนนี้ พบกลุ่มเสี่ยงถึง 2,702 คน พบว่าใช้บุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 46.8 ใช้น้ำกระท่อม 4,100 กัญชา,สารระเหย และ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 17.1 โดยจังหวัดปัตตานี มีจำนวน 1,353 คน ร้อยละ 23.4 กลุ่มเสี่ยง 848 คน ร้อยละ 62.7 ได้รับคำปรึกษาการเลิกบุหรี่ แอลกอฮอล์ และสารเสพติด จำนวน 842 คน ร้อยละ 31.7 (ที่มา : โครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฎอนี,2566)
จากสถานการณ์การบริโภคยาสูบ ผลกระทบทางสุขภาพ และผลการสำรวจนักเรียน พบว่าจังหวัดปัตตานียังมีอัตราการบริโภคยาสูบหน้าใหม่เพิ่มจำนวนมากขึ้นโดยเฉพาะผู้หญิง เด็ก และเยาวชน โดยเฉพาะบุหรี่ไฟฟ้าที่นับวันกลับมีการใช้กันอย่างแพร่หลายมากขึ้นโดยนักสูบหันมาใช้บุหรี่แบบดั้งเดิม ด้วยความเชื่อเรื่องความปลอดภัยทั่งต่อตนเองและบุคคลรอบข้างดังนั้นเพื่อหยุดผลกระทบในมิติต่างๆ จากการสูบบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า จึงต้องมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไข ลดการสูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ด้วยการให้ข้อมูลที่ถูกต้องและส่งเสริมให้ประชาชนรู้เท่าทันอันตรายโทษพิษภัยรวมถึงกลยุทธ์การตลาดของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ทั้งนี้สามคมคุ่มครองผู้บริโภคจังหวัดปัตตานี จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันและคุ่มครองผู้ไม่สูบบุหรี่จากการได้รับควันบุหรี่มือสอง เฝ้าระวังนักสูบบุหรี่หน้าใหม่จึงได้นำเสนอโครงการนี้ขึ้นมาใหม่ เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชน Pemuda เป็นแบบอย่างสามารถขยายผล เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เท่าทันถึงโทษ และพิษภัยของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ลดความเสี่ยงของการติดบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งการกรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้าและสร้างแรงจูงใจในการลด ละเลิก สูบบุหรี่ เพื่อพลักดันให้ "สังคมไทยปลอดบุหรี่ และบุหรี่ไฟ้ฟ้า" อย่างแท้จริงได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักเรื่องโทษพิษัยบุหรี และรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ช่วยสร้างกระแสการรณรงค์เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเยาวชนสู่ครอบครัว ชุมชนต่างๆ สังคมในการสร้างสังคมปลอดบุหรี่ 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ รวมทั้งลดแรงสนับสนุน เพื่อควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถตระหนักถึงโทษพิษภัยบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า รู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ไม่มีนักสูบหน้าใหม่
- เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้เกิดสถานศึกษาปลอดบุหรี่
- มีการเฝ้าระวังและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ และส่งเสริมการลด ละ เลิกบุหรี่ โรงเรียน ครอบครัว ชุมชน ฯลฯ
- เกิดความร่วมมือทุกภาคส่วนในการรณรงค์สร้างกระแสสังคมให้เกิดจังหวัดปลอดบุหรี่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักเรื่องโทษพิษัยบุหรี และรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ช่วยสร้างกระแสการรณรงค์เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเยาวชนสู่ครอบครัว ชุมชนต่างๆ สังคมในการสร้างสังคมปลอดบุหรี่ 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ รวมทั้งลดแรงสนับสนุน เพื่อควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ
ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 % ของกลุ่มเป้าหมาย
2. สถานศึกษาปลอดบุหรี่ที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ มีการดำเนินการสถานศึกษาปลอดบุหรี่/เครื่องดื่มแอลกอฮอล์สามารถยกระดับการดำเนินงานให้ผ่านเกณฑ์การประเมินได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50%
3.เกิดมัสยิดปลอดบุหรี่ จำนวน 5 แห่ง
4. เกิดแกนนำเยาวชนที่สามารถเป็นวิทยากรได้ จำนวน 35 คน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักเรื่องโทษพิษัยบุหรี และรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ช่วยสร้างกระแสการรณรงค์เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเยาวชนสู่ครอบครัว ชุมชนต่างๆ สังคมในการสร้างสังคมปลอดบุหรี่ 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ รวมทั้งลดแรงสนับสนุน เพื่อควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-2-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวศทิชา รัตนเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวศทิชา รัตนเดช
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-2-13 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2)
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 178,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการศึกษาภาวะโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย พ.ศ. 2562 พบว่าปัจจัยเสี่ยงที่ก่ิให้เกิดการเสียชีวิตมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ ระดับน้ำตาลกลูโคสในพลาสมาสูง รองลงมา คือ บุหรี่หรือยาสูบ ความดันโลหิตสูง การบริโภคอาหารไม่เพียงพอหรือมากเกินไป และมลพิษทางอากาศตามลำดับ ซึ่งปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคมากที่สุดในเพศชาย ได้แก่ บุหรี่หรือยาสูบ ร้อยละ 16.4 ของการสูญเสียปีสุขภาวะทั้งหมด ในเพศชาย รองลงมาคือ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ซึ่งทำให้สูญเสียปีสุขภาวะ ร้อยละ 14.0 (รายงานภาระโรคจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย,2562) ผลการสำรวจพฤติกรรมด้านสุขภาพของประชากร พ.ศ.2564 ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ พบว่าแนวโน้มอัตราการสูฐบุหรี่ของประชาชนที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป ตั้งแต่ปี 2547 ถึงปี 2564 มีแนวโน้มลดลง จากร้อยละ 23 เป็นร้อยละ 17.4 โดยในภาคใต้มีอัตราการสูบบุหรี่สูงสุด ร้อยละ22.4 ผู้สูบบุหรี่ส่วนใหญ่เริ่มสูบบุหรี่ครั้งแรกอายุ 18.5 ปี เพศชายมีอายุเฉลี่ยที่เริ่มสูบบุหรี่ต่ำกว่าเพศหญิง ( 18.3 ปี และ 21.6 ปี ตามลำดับ) สำหรับสถานการณ์บุหรี่ไฟฟ้า จากการสำรวจสถานการณ์บุหรี่ไฟฟ้า ในปี 2564 พบว่ากลุ่มอายุ 15-24 ปี มีอัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 30.5 รองลงมาคือ กลุ่มอายุ 25-59 ปี ร้อยละ 17.6 และกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไป ร้อยละ 2.3 (สำนักงานสติติแห่งชาติ,2564) นอกจากนี้ผลการสำรวจของกระทรวงสาธารณสุขร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการและองค์กรอนมัยโลกพบว่า การใช้บุหรี่ไฟฟ้าของเด็กนักเรียนไทย (อายุ 13-15 ปี) เพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 3.3 ในปี 2558 เป็นร้อยละ 8.1 ในปี 2564
สถานการณ์การสูบบุหรี่ของจังหวักปัตตานี ปี 2550,2554,2557,2558,2560 และ 2564 มีอัตราการสูบบุหรี่ร้อยละ 32.26,29.10,28.08,25.67,23.4 และ 21.4 ตามลำดับ ซึ่งมีแนวโน้มที่ลดลง อีกทั้งจากรายงานสถานการณ์แนวโน้มต้ายสุขภาพของประชาชนจังหวัดปัตตานี ปี 2565 พบว่า กลุ่มโรคที่เป็นสาเหตุการตายอันดับ 5 คือ โรคมะเร็งทุกชนิด มีอันตราย 68.24 ต่อประชากรแสนคน โดยพบว่าโรคมะเร็ง 5 อันดบแรก คือ 1.มะเร็งปอด 2.มะเร็งเต้านนม 3. มะเร็งลำไส้ไม่ระบุส่วน 4.มะเร็งตับ และ 5. มะเร็งลำไส้ใหญ่
จากการสำรวจนักเรียนโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 และ มัธยมศึกษาปีที่ 1 - 2 ในพื้นที่ 5 จังหวัดชายเเดนภาคใต้ จำนวน 5,777 คน ในจำนวนนี้ พบกลุ่มเสี่ยงถึง 2,702 คน พบว่าใช้บุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 46.8 ใช้น้ำกระท่อม 4,100 กัญชา,สารระเหย และ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ร้อยละ 17.1 โดยจังหวัดปัตตานี มีจำนวน 1,353 คน ร้อยละ 23.4 กลุ่มเสี่ยง 848 คน ร้อยละ 62.7 ได้รับคำปรึกษาการเลิกบุหรี่ แอลกอฮอล์ และสารเสพติด จำนวน 842 คน ร้อยละ 31.7 (ที่มา : โครงการจัดตั้งคณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยฟาฎอนี,2566)
จากสถานการณ์การบริโภคยาสูบ ผลกระทบทางสุขภาพ และผลการสำรวจนักเรียน พบว่าจังหวัดปัตตานียังมีอัตราการบริโภคยาสูบหน้าใหม่เพิ่มจำนวนมากขึ้นโดยเฉพาะผู้หญิง เด็ก และเยาวชน โดยเฉพาะบุหรี่ไฟฟ้าที่นับวันกลับมีการใช้กันอย่างแพร่หลายมากขึ้นโดยนักสูบหันมาใช้บุหรี่แบบดั้งเดิม ด้วยความเชื่อเรื่องความปลอดภัยทั่งต่อตนเองและบุคคลรอบข้างดังนั้นเพื่อหยุดผลกระทบในมิติต่างๆ จากการสูบบุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า จึงต้องมีการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไข ลดการสูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ด้วยการให้ข้อมูลที่ถูกต้องและส่งเสริมให้ประชาชนรู้เท่าทันอันตรายโทษพิษภัยรวมถึงกลยุทธ์การตลาดของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ทั้งนี้สามคมคุ่มครองผู้บริโภคจังหวัดปัตตานี จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการป้องกันและคุ่มครองผู้ไม่สูบบุหรี่จากการได้รับควันบุหรี่มือสอง เฝ้าระวังนักสูบบุหรี่หน้าใหม่จึงได้นำเสนอโครงการนี้ขึ้นมาใหม่ เพื่อให้เด็กนักเรียนและเยาวชน Pemuda เป็นแบบอย่างสามารถขยายผล เผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ให้เด็กและเยาวชนมีความรู้เท่าทันถึงโทษ และพิษภัยของบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ลดความเสี่ยงของการติดบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า และการเกิดโรคต่างๆ รวมทั้งการกรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้าและสร้างแรงจูงใจในการลด ละเลิก สูบบุหรี่ เพื่อพลักดันให้ "สังคมไทยปลอดบุหรี่ และบุหรี่ไฟ้ฟ้า" อย่างแท้จริงได้ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักเรื่องโทษพิษัยบุหรี และรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ช่วยสร้างกระแสการรณรงค์เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเยาวชนสู่ครอบครัว ชุมชนต่างๆ สังคมในการสร้างสังคมปลอดบุหรี่ 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ รวมทั้งลดแรงสนับสนุน เพื่อควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เยาวชนและประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ สามารถตระหนักถึงโทษพิษภัยบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า รู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ไม่มีนักสูบหน้าใหม่
- เพื่อพัฒนาและส่งเสริมให้เกิดสถานศึกษาปลอดบุหรี่
- มีการเฝ้าระวังและป้องกันนักสูบหน้าใหม่ และส่งเสริมการลด ละ เลิกบุหรี่ โรงเรียน ครอบครัว ชุมชน ฯลฯ
- เกิดความร่วมมือทุกภาคส่วนในการรณรงค์สร้างกระแสสังคมให้เกิดจังหวัดปลอดบุหรี่
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักเรื่องโทษพิษัยบุหรี และรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ช่วยสร้างกระแสการรณรงค์เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเยาวชนสู่ครอบครัว ชุมชนต่างๆ สังคมในการสร้างสังคมปลอดบุหรี่ 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ รวมทั้งลดแรงสนับสนุน เพื่อควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ ตัวชี้วัด : 1. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 % ของกลุ่มเป้าหมาย 2. สถานศึกษาปลอดบุหรี่ที่เข้าร่วมกิจกรรมโครงการ มีการดำเนินการสถานศึกษาปลอดบุหรี่/เครื่องดื่มแอลกอฮอล์สามารถยกระดับการดำเนินงานให้ผ่านเกณฑ์การประเมินได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50% 3.เกิดมัสยิดปลอดบุหรี่ จำนวน 5 แห่ง 4. เกิดแกนนำเยาวชนที่สามารถเป็นวิทยากรได้ จำนวน 35 คน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจ ตระหนักเรื่องโทษพิษัยบุหรี และรู้เท่าทันกลยุทธ์ทางการตลาด ช่วยสร้างกระแสการรณรงค์เพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ 2. เพื่อสนับสนุนให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจากเยาวชนสู่ครอบครัว ชุมชนต่างๆ สังคมในการสร้างสังคมปลอดบุหรี่ 3. เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานสถานศึกษาปลอดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และผลิตภัณฑ์ยาสูบ 4. เพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ รวมทั้งลดแรงสนับสนุน เพื่อควบคุมการบริโภคผลิตภัณฑ์ยาสูบ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ Pemuda Strong รู้เท่าทัน ไม่เอาบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า จังหวัดปัตตานี (ประเภทที่ 2) จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L7884-2-13
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวศทิชา รัตนเดช )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......