โครงการกินดี อาหารสะอาด ปลอดภัย อร่อยทุกคำ
ชื่อโครงการ | โครงการกินดี อาหารสะอาด ปลอดภัย อร่อยทุกคำ |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตาเซะ |
วันที่อนุมัติ | 6 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มีนาคม 2568 - 15 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 39,460.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมูฮัมมัดเฟาซัน หะยีนอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลตาเซะ อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.62,101.253place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 มี.ค. 2568 | 15 ก.ย. 2568 | 39,460.00 | |||
รวมงบประมาณ | 39,460.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน : ระบุ |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลตาเซะ ตระหนักถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการกินดี อาหารสะอาด ปลอดภัย อร่อยทุกคำ สำหรับผู้ประกอบกิจการอาหารและผู้ที่สัมผัสอาหาร เพื่อเป็นการดูแลสุขาภิบาลของร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร ควบคุมคุรภาพอาหารที่จำหน่ายให้สะอาด และเพื่อเป็นการเฝ่าระวังและประกันคุณภาพของอาหาร อีกทั้งยังเป็นการพัฒนาและสร้างความรู้แก่ผู้ประกอบการและผู้บริโภคให้ตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกซื้ออาหารที่เหมาะสม อันจะส่งผลให้ประชาชนได้บริโภคอาหารที่สะอาดปลอดภัยต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารให้แก่ผู้ประกอบการ ร้านอาหาร แผงลอยจจำหน่ายอาหาร และผู้สัมผัสอาหาร ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร ร้อยละ 80 |
80.00 | |
2 | เพื่อควบคุมและเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ จำนวนร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารที่ผ่านมาตรฐานร้านจำหน่ายอาหารตามหลักสุขาภิบาลร้อยละ 80 |
80.00 | |
3 | เพื่อให้ผู้ประกอบการได้รับความรู้ที่เกี่ยวข้องในการประกอบการร้านอาหาร จำนวนผู้ประกอบการเข้ารับการฝึกอบรมร้อยละ 80 ของเป้าหมาย |
80.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อส่งเสริมความรู้ด้านสุขาภิบาลอาหารให้แก่ผู้ประกอบการ ร้านอาหาร แผงลอยจจำหน่ายอาหาร และผู้สัมผัสอาหาร |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อควบคุมและเฝ้าระวังการปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้ผู้ประกอบการได้รับความรู้ที่เกี่ยวข้องในการประกอบการร้านอาหาร |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1.ผู้ประกอบการรานอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารเห็นความสำคัญในการพัฒนาแยกระดับมาตรฐานสุขาภิบาล 2.ร้านอาหารและแผงลอยจำหน่ายอาหารได้รับการพัมนาและยกระดับมาตรฐานทำให้ประชาชนได้รับความปลอดภัยในการบริโภคมากยิ่งขึ้น 3.ยกระดับร้านอาหาร/แผงลอยให้น่าซื้อ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2568 16:10 น.