โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก 2568
ชื่อโครงการ | โครงการมหัศจรรย์ 1000 วันส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ |
วันที่อนุมัติ | 14 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 เมษายน 2568 - 29 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 34,100.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งใหญ่ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลทุ่งใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 25 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
เสริมสุขภาพสตรีตั้งครรภ์และเด็กปฐมวัย จึงเป็นจุดเริ่มต้นแห่งการพัฒนาคุณภาพประชากรที่ในครรภ์ เพื่อการตั้งครรภ์และการคลอดเป็นไปด้วยความราบรื่น มารดาและทารกปลอดภัย ปราศจากภาวะแทรกซ้อน และนี่พแข็งแรง น้ำหนักทารกแรกเกิด เป็นข้อบ่งชี้ที่สำคัญของการเจริญเติบโต และการมีชีวิตรอดของทาว่า ๒,๕๐๐ กรัม มีอัตราการอยู่รอดต่ำ มีความสัมพันธ์กับพัฒนาการเด็กล่าช้า ระบบภูมิคุ้มกันต่ำ มีความสูงต่อการเกิดโรค ของการเสียชีวิตของทารกแรกเกิด เกิดในกลุ่มหารกน้ำหนักน้อย หรือถ้ารอดตายในช่วงต้นของชีวิต ก็อาจา ในด้านการเจริญเติบโต หรือพัฒนาการตามมา เช่น ปัญหาในด้านการเรียน การมองเห็น โรคทางเดินทางเดินอาหาร หรือการเป็นเด็กพิการ ปัญญาอ่อน จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็ก ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทังใหญ่ ย้อนหลัง ๓ ปี ตั้งแต่ปี ๒๕๖๔ - ๒๕๖พบว่า ๑. ๑. มีอัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า ๒๕๐๐ กรัม ร้อยละ ๗.๑๙).๘๓ ตามลำดับ (เป้าหมายไม่เกินร้อยละ ๗) การคลอดก่อนกำหนด เป็นสาเหตุปัจจัยของทารกตากว่า ๒๕๐๐ กรัม ร้อยละ ๔.๒. ๕,๑๒ และ ๘.๕๑ ตามลำดับ ที่เหลือเกิดจากปัจจัยด้านการเจริญเติบโตช้าในครรภ์ อันภาวะโภชนาการ การได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ภาวะแคระแกร็น พฤติกรรมการบริโภค การทำงางหญิงตั้งครรภ์ ส่งผลต่อการมีพัฒนาการล่าช้าของเด็กและข้อมูลหญิงตั้งครรภ์ ๓ ปีย้อนหลัง รา ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ร้อยละ๙๔ ๖๒ , ๕๕.๔๑และ ๙๔.๗๕๓ มลำคับ (เป้าหมาย ร้อย ๖๐) และได้รับการดูแลก่อนคลอด ๕ ครั้งเกณฑ์คุณภาพ ร้อยละ๘๙.๐๖ ๙๖.๘๘และ๘๖.๙๖๖ตามลำดับ ( เป้าหมาย ร้อยละ ๖๕ ) และนอกจากนี้ ภาวะทุพโภชนาการที่ต้องดูแลและติดตามต่อเนื่องจากปี ๒๕๖๗ และค้นหาเพิ่มเติมในปี๒๕๖๕๖๗ จำนวน ทั้งสิ้น ๑๒ คน และจากปีที่ผ่านมา ปี๒๕๖๘ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพดำท่าทั้งใหญ่ได้เล็งเห็นความสำคัญของ โครงการมทัศจรรย์ ๑๐๐๐ วันส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ๒๕๕๖๖๘โดยมีกิจกรรมการดูแลสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ตลอดจนเด็กอายุแรกเกิดจนถึง ๕ ปี และสร้างความเข็มแข็งของเครือข่ายงานอนามัยแม่และเด็ก จากผลสรุปงานกิจกรรมในโครงการรณรงค์ให้หญิงมีครรภ์ได้มีการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ ๓ เดือนได้ร้อยละ๙๔.๗๔ ในปี๒๕๖๐ ร้อยละ๕๕,๔ดเพิ่มขึ้น ร้อยละ๓๙.๓๓ ซึ่งส่งผลต่อหญิงหญิงนี้ครรภ์คลอดลูกมีน้ำหนักแรกคลอดมากกว่า ๒,๒,๕๐๐ กรัม โดยข้อมูลปิอเห๖๖ มีเด็กแรกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า๒,๕๐๐,๕๐๐ กรัม ร้อยละ ๑๓.๑๓ แต่ในปี๒๕๖๑ ได้ร้อยละ ๘.๕๑ และการรณรงค์ตรวจพัฒนาการเด็ก ๐-๕ ปี ในปี๒๕๖๐ ได้ร้อยละ ๙๓ ๖๕ พบเด็กที่สงสัยล่าช้า ร้อยละ ๕.๓๗โดยในปี๖๕๖๖๑ ได้ร้อยละ ๔๖ ๔๙ พบล่าช้า ร้อยละ ๗ ๒๒๘ ซึ่งการที่ค้นพบเด็กที่มีพัฒนาการล่าข้าได้เร็วและครอบคลุมจะทำให้เด็กจะได้รับการดูแลเร็วขึ้นเด็กจะได้รับการกระตุ้นและส่งเสริมพัฒนาการตามวัยทำให้มีพัฒนาการตามวัยได้จะเห็นได้ว่าโครงการของมหัศจรรย์ ๑,๐๐๐ วันส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ก่อให้ เกิดคุณภาพชีวิตที่ดี มีคุณภาพของประชาชน กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่และเกิดการดำเนินงานแบบบูรณาการ โดยใช้กลไกลของภาศีระดับหมู่บ้านไม่ทำให้การดำเนินงานด้านอนามัยแม่แม่และเด็กมีประสบผลสำเร็จที่ดีในระดับหนึ่ง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุทั้งใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการมหัศรรรรย์๑,๐๐๐ วันส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็ก ๒๕๖๖๘โดยครอบคลุมไปถึงการดแลเฝ้าระวังพัฒนาการตามวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลทุ่งใหญ่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | หญิงต้ังครรภ์และหญิงหลังคลอดมีความรู้ในการดูแลตนเองในด้านโภชนาการ หญิงตั้งครรภ์หญิงหลังคลอดได้รับความรู้ในการดูแลตนเองด้านภชนาการ ร้อยละ ๘๐ |
0.00 | |
2 | หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ได้รับนมและไข่ทุกคน หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดในพื้นที่ได้รับมและไข่ร้อยละ100 |
0.00 | |
3 | หญิงหลังคลอดทารกน้ำหนักมากกว่า ๒,๕๐๐ กรัม หญิงหญิงหลังคลอดทารกน้ำหนักมากกว่า๒,๕๐๐ กรัม ร้อยละ ๗๐ |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 34,100.00 | 0 | 0.00 | |
1 เม.ย. 68 - 30 มิ.ย. 68 | อบรมให้ความรู้ | 0 | 34,100.00 | - | ||
1 ก.ค. 68 - 30 เม.ย. 68 | การประเมิน | 0 | 0.00 | - |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 18 ก.พ. 2568 00:00 น.