กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการวัยทีนเข้มเเข็งป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์และยาเสพติด ปี 2568 ”
เทศบาลตำบลบ้านสวน



หัวหน้าโครงการ
นายวิชัย อินทร์ประดับ




ชื่อโครงการ โครงการวัยทีนเข้มเเข็งป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์และยาเสพติด ปี 2568

ที่อยู่ เทศบาลตำบลบ้านสวน จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3325-2-6 เลขที่ข้อตกลง 6/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 29 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการวัยทีนเข้มเเข็งป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์และยาเสพติด ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลตำบลบ้านสวน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยทีนเข้มเเข็งป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์และยาเสพติด ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการวัยทีนเข้มเเข็งป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์และยาเสพติด ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลตำบลบ้านสวน รหัสโครงการ 68-L3325-2-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 29 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 33,425.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านสวน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ของจังหวัดพัทลุง มีการคลอดมีชีพในวัยรุ่นอายุ 15-19 ปี ตั้งเเต่ปี 2561-2567 เท่ากับ 20.40, 17.54, 10.19, 8.62, 8.57, 8.51 และ 8.53 ต่อประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน จากข้อมูลดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าการคลอดมีชีพในวัยรุ่นมีเเนวโน้มลอลงมาตลอดสามปีเเรก และคงที่ในช่วงสี่ปีหลัง และยังคงเป็นปัญหาที่ต้องมีการดำเนินงานขับเคลื่อนให้มีความต่อเนื่อง เพราะผลกระทบทางสุขภาพจากการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น เช่น เด็กเเรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ มีความเสี่ยงต่อการทำแท้งที่ไม่ปลอดภัย การเสียโอกาสในการศึกษา/หน้าที่การงาน รวมทั้งรายได้ในอนาคต การขาดความพร้อมในการเลี้ยงดูบุตร ส่งผลให้เด็กจำนวนหนึ่งถูกทอดทิ้ง หรือเติบโตมาอย่างไม่มีคุณภาพ บางครั้งเมื่อเกิดปัญหาหันไปพึ่งพาส่วนยาเสพติด กลับทำให้ปัญหาต่างๆเพิ่มทวีคูณมากขึ้น สร้างปัญหาสังคมมากขึ้น
ทางศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนเทศบาลตำบลบ้านสวน เล็งเห็นถึงปัญหาและตระหนักถึงทุกภาคส่วนควรมีส่วนร่วมในการในการขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การป้องกันยาเสพติด ควรส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในพื้นที่มีความรู้เรื่องเพศวิถี การป้องกันตัวเองไม่ให้ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และไม่ยุ่งเกี่ยวกับสารเสพติดให้โทษจึงได้จัดทำโครงการวัยทีนเข้มเเข็งป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์และยาเสพติด ปี2568

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
  2. เพื่อเพิ่มความรู้เเก่เยาวชนในการป้องกันการตั้งครรภ์ การติดสารเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานและภาคีเครือข่าย
  2. ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม
  3. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ,เพศวิถี การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและยาเสพติดให้โทษ
  4. ทดสอบความรู้หลังการอบรม
  5. ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เยาวชนและสร้างกระแสชมรมTO BE NUMBER ONE
  6. กิจกรรมสร้างเสริมพัฒนาEQ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์
  7. กิจกรรมประเมินความพึงพอใจ สรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
เจ้าหน้าที่ๆเกี่ยวข้อง 10

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เกิดกระแสนิยมของเยาวชนป้องกันการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรและแก้ไขปัญหายาเสพติด 2.เยาวชนตระหนักถึงโทษของอบายมุขและยาเสพติดทุกประเภทและสามารถป้องกัน ตนเองได้ 3.เยาวชนได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ 4.เยาวชนมีภาวะผู้นำ สามารถแก้ปัญหา คิดริเริ่ม และสร้างสรรค์การนำเสนอผลงานของ ด้วยความภาคภูมิใจ 5.มีการสร้างเครือข่ายชมรม TO BE NUMBER ONE


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานและภาคีเครือข่าย

วันที่ 16 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมคณะทำงานประกอบด้วย คณะทำงานศูนย์ครอบครัว ตัวเเทนเจ้าหน้า รพ.สต.ในพื้นที่ เจ้าหน้าที่เทศบาล ผู้นำชุมชน อสม. ตัวเเทนเเกนนำนักเรียน ครู จำนวน 15 ท่าน เพื่อชี้เเจงการทำโครงการฯ เป้าหมาย การดำเนินงาน เเละผลลัพธ์โครงการฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้คณะทำงาน 15 ท่าน

 

0 0

2. ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม

วันที่ 27 มิถุนายน 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดแบบทดสอบวัดความรู้ก่อนการอบรม เรื่องเพศวิถี และยาเสพติดให้โทษ - ค่าเอกสารทดสอบให้ความรู้ ชุดละ 1 บาท จำนวน 50 ชุด เป็นเงิน 50 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ผลการทดสอบก่อนการอบรมจากกลุ่มเป้าหมาย

 

0 0

3. ทดสอบความรู้หลังการอบรม

วันที่ 27 มิถุนายน 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดแบบทดสอบวัดความรู้หลังการอบรม เรื่องเพศวิถี และยาเสพติดให้โทษ - ค่าเอกสารทดสอบให้ความรู้ ชุดละ 1 บาท จำนวน 50 ชุด เป็นเงิน 50 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ได้ผลการทดสอบหลังการอบรมจากกลุ่มเป้าหมาย

 

0 0

4. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ,เพศวิถี การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและยาเสพติดให้โทษ

วันที่ 27 มิถุนายน 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ,เพศวิถี การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและยาเสพติดให้โทษ โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญ งบประมาณ - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้ารับการอบรมและผู้จัดจำนวน 60 คน ๆ ละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้ารับการอบรมและผู้จัดจำนวน 60 คน ๆ มื้อ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท - ค่าตอบเเทนวิทยากรชั่วโมงละ 600 บาทจำนวน 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่าป้าย ขนาด2.4*1.2 เมตร เป็นเงิน 500 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ - สมุดปกอ่อน 50 เล่มๆละ 10 บาท เป็นเงิน 500 บาท - ปากกา 50 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 250 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เยาวชนได้รับความรู้เรื่องการป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ,เพศวิถี การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและยาเสพติดให้โทษ

 

0 0

5. ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เยาวชนและสร้างกระแสชมรมTO BE NUMBER ONE

วันที่ 4 กรกฎาคม 2568 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสร้างสรรค์ให้เยาวชน 1.กิจกรรมการเเสดงของเยาวชนชมรม TO BE NUMBER ONE ร่วมสร้างสรรค์ห่างไกลยาเสพติด การร้องเพลงเเละการเต้นรำ 2.กิจกรรมพูดคุยเปิดอกวัยรุ่นวัยทีน รักเป็น เรียนเป็น เล่นได้ ไม่พึ่งพายาเสพติด ค่าใช้จ่าย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับผู้เข้าร่วมและผู้จัดจำนวน 70 คน ๆ ละ 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท - ค่าอาหารกลางวัน สำหรับผู้เข้ารับร่วมและผู้จัดจำนวน 70 คน ๆ มื้อ ละ 50 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท - ป้ายประชาสัมพันธ์ลักษณะโฟมบอร์ด ขนาด 60 X 40 ซม.ราคาป้ายละ 200 บาทจำนวน 3 ป้ายเป็นเงิน 600 บาท - ค่าตอบเเทนวิทยากรชั่วโมงละ 600 บาทจำนวน 3 ชั่วโมง เป็นเงิน 1,800 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ - กระดาษฟลิปชาร์ท 1 ชุด เป็นเงิน 150 บาท - ปากกาไวท์บอร์ด น้ำเงิน เเดง จำนวน 10 ด้าม เป็นเงิน 200 บาท - กระดาษกาวย่น 1 ม้วน เป็นเงิน 25 บาท 3.ผู้เข้าร่วมอบรม เสนอผลงานการทำกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.เยาวชนได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 2.เกิดกระแสนิยมให้เด็กและเยาวชนห่างไกลยาเสพติด 3.เยาวชนรู้จักการป้องกันตัวเอง มีความรู้เรื่องเพศมากขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)
80.60 78.20

 

2 เพื่อเพิ่มความรู้เเก่เยาวชนในการป้องกันการตั้งครรภ์ การติดสารเสพติด
ตัวชี้วัด : จำนวนเยาวชนมีความรู้เรื่องยาเสพติดและเพศศึกษา ร้อยละ100
50.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
เจ้าหน้าที่ๆเกี่ยวข้อง 10

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น (2) เพื่อเพิ่มความรู้เเก่เยาวชนในการป้องกันการตั้งครรภ์ การติดสารเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานและภาคีเครือข่าย (2) ทดสอบความรู้ก่อนการอบรม (3) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ,เพศวิถี การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันทางจิตใจและยาเสพติดให้โทษ (4) ทดสอบความรู้หลังการอบรม (5) ส่งเสริมกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เยาวชนและสร้างกระแสชมรมTO BE NUMBER ONE (6) กิจกรรมสร้างเสริมพัฒนาEQ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ (7) กิจกรรมประเมินความพึงพอใจ สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการวัยทีนเข้มเเข็งป้องกัน แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์และยาเสพติด ปี 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L3325-2-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายวิชัย อินทร์ประดับ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด