โครงการชุมชนสดใส ไร้ควันบุหรี่
ชื่อโครงการ | โครงการชุมชนสดใส ไร้ควันบุหรี่ |
รหัสโครงการ | 68-L4129-01-0- |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ |
วันที่อนุมัติ | 21 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ธันวาคม 2567 - 29 สิงหาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 29 สิงหาคม 2568 |
งบประมาณ | 4,700.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายไพสิฐ นรารักษ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.686,101.141place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
จากการสำรวจสถานการณ์การสูบบุหรี่ไฟฟ้าของประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไป ของสำนักงานสถิติแห่งชาติ เมื่อปี พ.ศ. 2557 ซึ่งเป็นครั้งแรกของการสำรวจฯ พบว่า ประชากรไทยมีอัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้า ร้อยละ 0.10 (48,336 คน) ต่อมาได้มีประกาศกระทรวงพาณิชย์ เรื่อง กำหนดให้บารากู่และบารากู่ไฟฟ้าหรือบุหรี่ไฟฟ้า เป็นสินค้าที่ต้องห้ามในการนำเข้ามาในราชอาณาจักร พ.ศ. 2557 และคำสั่งคณะกรรมการการคุ้มครองผู้บริโภคฉบับที่ 9/2558 เรื่อง ห้ามขายหรือห้ามให้บริการสินค้า “บารากู่ บารากู่ไฟฟ้าหรือบุหรี่ไฟฟ้าหรือตัวยาบารากู่ น้ำยาสำหรับเติมบารากู่ไฟฟ้า หรือบุหรี่ไฟฟ้า” ทำให้การสำรวจฯ เมื่อปี พ.ศ. 2560 พบว่า อัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้าลดลงเป็นร้อยละ 0.02 (11,037 คน) แต่ในปี พ.ศ. 2564 อัตราการสูบบุหรี่ไฟฟ้ากลับสูงขึ้นเป็นร้อยละ 0.14 (78,742 คน) ซึ่งเพิ่มขึ้น 7 เท่า การสูบบุหรี่เป็นพฤติกรรมที่มีผลกระทบต่อสุขภาพอย่างรุนแรง ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว บุหรี่ประกอบด้วยสารเคมีหลายชนิดที่มีผลเสียต่อร่างกาย การทำความเข้าใจถึงโทษของบุหรี่และวิธีการป้องกันและเลิกสูบบุหรี่เป็นสิ่งสำคัญที่นักสูบควรตระหนัก โทษของบุหรี่ต่อสุขภาพมีหลายประการ เพราะบุหรี่ประกอบด้วยนิโคตินและสารเคมีที่เป็นพิษมากกว่า 7,000 ชนิด การสูดดมสารเคมีเหล่านี้จะส่งผลเสียต่อสุขภาพโดยตรง เช่น เกิดปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ หัวใจและหลอดเลือด สมอง ระบบสืบพันธุ์ และเพิ่มความเสี่ยงในการเป็นมะเร็ง เบาหวาน และปัญหาสุขภาพจิต เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ ตระหนักถึงโทษและผลกระทบของการสูบหรี่ จึงได้จัดทำโครงการชุมชนสดใส ไร้ควันบุหรี่ เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ตำบลธารน้ำทิพย์มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี ลดความเสี่ยงจากโรค และลดผลกระทบต่างๆจากการสูบบุหรี่
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อรณรงค์ให้สังคมตระหนักถึงปัญหาที่เกิดจากจากสูบบุหรี่ 1.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโทษและผลกระทบของการสูบบุหรี่ และรณรงค์ให้ลด ละ เลิกบุหรี่ ร้อยละ 80 |
||
2 | เพื่อลดความเสี่ยงจากโรค และผลกระทบต่างๆ จากการสูบบุหรี่
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
- สังคมตระหนักถึงงปัญหาที่เกิดจากการสูบบุหรี่
- ลดความเสี่ยงจากโรค ลดอุบัติเหตุ และลดผลกระทบต่างๆ จากการสูบบุหรี่
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2568 11:10 น.