โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Station) หมู่ที่ 6 บ้านพรุนาแด้
ชื่อโครงการ | โครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Station) หมู่ที่ 6 บ้านพรุนาแด้ |
รหัสโครงการ | 2568 - L3309 - 2 - 7 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรม อสม หมู่ที่ 6 บ้านพรุนาแด้ |
วันที่อนุมัติ | 13 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 8,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางอรอนงค์ ดำจ่า ประธานชมรม อสม.หมู่ที่ 6 บ้านพรุนาแด้ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | บ้านพรุนาแด้ ม.6 ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
หลักการและเหตุผล
โรคไม่ติดต่อเป็นสาเหตุการเสียชีวิต ๒ ใน ๓ ของประชากรไทย ส่งผลต่อ ทั้งด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาประเทศ อีกทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นในช่วงสองทศวรรษ ที่ผ่านมา ซึ่งมีสาเหตุจากปัจจัยหลายด้านตั้งแต่ การจัดบริการคัดกรองไม่ทั่วถึง และประชาชนขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการและองค์ความรู้ในการจัดการตนเอง ระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด - 19 กระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายลดความแออัดในสถานพยาบาล ทำให้เกิดนวัตกรรมการให้บริการ คัดกรองและติดตามภาวะความดันและน้ำตาลในเลือดนอกสถานพยาบาล มีสมุดบันทึกข้อมูลสุขภาพออนไลน์ด้วย Application บนมือถือของประชาชน และเชื่อมต่อข้อมูลกับสถานพยาบาล โดยมีสถานที่ตั้งให้บริการอยู่ในชุมชน มีชื่อเรียกว่า สถานีสุขภาพดิจิทัล (Digital Health Station) ซึ่งหมายถึง สถานที่สำหรับ ให้บริการตรวจสุขภาพด้วยตนเองของประชาชนทุกกลุ่มวัย ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ตลอดเวลาเมื่อมีความต้องการตรวจเช็คสุขภาพของตนเอง และ เป็นช่องทางในการสื่อสารความเสี่ยงสุขภาพผ่าน Platform Digital
โดยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านพังกิ่ง มีความคาดหวังว่าจะช่วยลดอัตราการป่วย และการเสียชีวิตจากโรคไม่ติดต่อลงได้ จึงได้เขียนโครงการจัดตั้งสถานีสุขภาพดิจิทัล Digital Health Station ขึ้น จำนวน ๔ หมู่บ้านคือ จัดตั้งในหมู่ที่ ๑,๒,๕และ๖ ตำบลสมหวัง อำเภอกงหรา จังหวัดพัทลุง
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เพิ่มขึ้น ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น มากกว่าร้อยละ ๕๐ |
40.00 | 60.00 |
2 | ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล สุขภาพดีขึ้น ร้อยละของผู้ที่มีความเสี่ยงด้านสุขภาพลดลง |
30.00 | 10.00 |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น เพิ่มขึ้น |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : ประชาชนในหมู่บ้านที่ใช้บริการสถานีสุขภาพดิจิทัล สุขภาพดีขึ้น |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
1 - 30 เม.ย. 68 | กิจกรรมประชุมแต่งตั้งคณะทำงาน | 0.00 | - | |||
1 - 30 เม.ย. 68 | กิจกรรมประชุมคณะทำงาน | 8,000.00 | - | |||
1 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ อสม. และประชาชน ให้สามารถใช้อุปกรณ์ | 0.00 | - | |||
1 - 31 ส.ค. 68 | กิจกรรมให้บริการแก่ประชาชนในพื้นที่ คัดกรองเบื้องต้น | 0.00 | - | |||
1 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมติดตามกลุ่มเสี่ยง | 0.00 | - | |||
1 - 30 ก.ย. 68 | กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในชุมชนอย่างต่อเนื่อง | 0.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
๑. ประชาชนในหมู่บ้าน เข้าถึงคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นเพิ่มขึ้น
๒. อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังลดลง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2568 13:54 น.