โครงการสตรีตันหยงจึงงารู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการสตรีตันหยงจึงงารู้ทันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68 – L3044 -1-008 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตันหยงจึงงา |
วันที่อนุมัติ | 24 ธันวาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 32,500.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวฮากีมะห์ สือนิ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลบาโลย อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.781,101.439place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 85 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ร้อยละหญิงวัยเจริญพันธ์อายุ30-60ปี | 95.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายที่สำคัญ สาเหตุหนึ่งของประชากรโดยเฉพาะประชากรกลุ่มวัยทำงาน เนื่องจากมีปัจจัยหลายประการที่ส่งผลกระทบโดยตรงกับอัตราการเกิดโรคมะเร็ง ได้แก่ สภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านกายภาพและชีวภาพ รูปแบบการดำเนินชีวิตในปัจจุบันมีอัตราการแข่งขันสูงทั้งเรื่องของการประกอบอาชีพและการศึกษา ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่บริโภคอาหารไม่ครบส่วนและปนเปื้อนสารก่อมะเร็ง ขาดการพักผ่อนที่เพียงพอ ทำให้เกิดภาวะเครียดสะสม ประกอบกับมีการเคลื่อนไหวออกแรงน้อยลง รวมทั้งมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเป็นปัญหาด้านสาธารณสุขที่ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลาในการดูแลรักษามาก ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคจึงเป็นสิ่งที่จะต้องเร่งดำเนินการในขั้นต้น เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ที่เน้นการสร้างสุขภาพมากกว่าการซ่อมสุขภาพ
โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เป็นสาเหตุการตายอันดับที่สองของสตรีไทย แต่ในขณะเดียวกันก็เป็นโรคที่สามารถค้นหาและ ป้องกันได้ง่าย และให้การดูแลรักษาเมื่อเจ็บป่วยในระยะเริ่มแรกได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยกระทรวงสาธารณสุขกำหนดให้สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป มีการตรวจเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80 และสตรีอายุ 30 – 60 ปีได้รับการตรวจ HPV DNA TEST ร้อยละ 20 เพื่อเป็นการสร้างเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมของประชากรสตรีกลุ่มเป้าหมาย ให้เกิดผลสุดท้ายของการมีสุขภาพดี ลดอัตราการเจ็บป่วย และตายจากโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และลดการสูญเสียทั้งในด้านเศรษฐกิจและสังคม
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ขึ้น เพื่อให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพและรณรงค์ส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพที่ดีแก่หญิงวัยเจริญพันธุ์ขึ้น
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทัศนคติ ที่ต่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ร้อยละ 95 กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทัศนคติ ที่ต่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก |
||
2 | เพื่อให้สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง ร้อยละ 90 สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง |
||
3 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ 100 ร้อยละ 100 กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ 100 |
||
4 | เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ร้อยละ 90 มีเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก และมีทัศนคติ ที่ต่อการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : เพื่อให้สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์ร้อยละ 100 |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
1 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | ให้ความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จำนวน 120 คน | 0.00 | 16,100.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 28 ต.ค. 68 | การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเอง | 0.00 | 14,400.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 28 ต.ค. 68 | ติดตามผลการตรวจและส่งต่อ | 0.00 | 2,000.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 28 ต.ค. 68 | ให้ความรู้และตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและเต้านม จำนวน 120 คน | 120.00 | 16,100.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 28 ต.ค. 68 | การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตัวเอง | 120.00 | 14,400.00 | - | ||
1 มี.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | ติดตามผลการตรวจและส่งต่อ | 0.00 | 2,000.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
1 หญิงวัยเจริญพันธ์อายุ30-60ปีได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
เพื่อให้สตรี อายุ 35 ปีขึ้นไป มีทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
มีเครือข่ายเฝ้าระวังมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อแพทย์
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2568 14:19 น.