การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ ในเด็กวัยเรียน (อาหารเช้าเพื่อน้อง ท้องอิ่ม)
ชื่อโครงการ | การแก้ปัญหาภาวะโภชนาการ ในเด็กวัยเรียน (อาหารเช้าเพื่อน้อง ท้องอิ่ม) |
รหัสโครงการ | 68-L3028-2-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนวัดโคกหญ้าคา |
วันที่อนุมัติ | 20 มกราคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 พฤษภาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 10,000.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายศิริชัย ขวัญแก้ว |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.735,101.262place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
โรงเรียนวัดโคกหญ้าคาตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 6 ต.คลองใหม่ อ.ยะรัง จ.ปัตตานี มีสภาพแวดล้อมของชุมชนที่ราษฎรมีฐานะยากจน มีความยากลำบากโดยดูได้จากการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนทำให้ได้ทราบถึงความเป็นอยู่ของนักเรียน บางครอบครัวขาดเสาหลัก บางครอบครัวกำพร้าบิดาหรือมารดา เด็กนักเรียนอาศัยอยู่กับญาติพี่น้องทำให้ความเป็นอยู่ลำบาก ส่งผลต่อความเป็นอยู่ การรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ และไม่ถูกหลักโภชนาการ ทำให้นักเรียนบางคนมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ทางโรงเรียนวัดโคกหญ้าคาจึงได้จัดทำโครงการ “อาหารเช้า เพื่อน้องท้องอิ่ม” ตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 จนถึงปัจจุบัน โรงเรียนวัดโคกหญ้าคาได้จัดอาหารเช้าให้นักเรียนได้รับประทานที่โรงเรียนทุกคนทุกวันทำการ โดยการใช้เงินบริจาคจากจากหน่วยงานภายนอกที่สนับสนุนให้บางส่วน แต่เนื่องจากนักเรียนมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นการจัดการส่วนนี้เกิดผลกระทบต้องเลือกบริการให้เฉพาะนักเรียนที่มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์จริงๆ ซึ่งในปีงบประมาณ 2566 เป็นต้นมา และในปีงบประมาณ 2568 ทางโรงเรียนได้สำรวจสภาวะโภชนาการณ์ของนักเรียนตั้งแต่ชั้นอนุบาล ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน ทั้งหมด 141 คนพบว่านักเรียนมีภาวะโภชนาการณ์ต่ำกว่าเกณฑ์ จำนวน 15 คน และทางโรงเรียนมีความมุ่งมั่นตั้งใจว่าการจัดอาหารเช้าให้แก่นักเรียนกลุ่มดังกล่าวจะส่งผลต่อภาวะโภชนาการที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้เด็กในวัยเรียน ได้รับการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ90 ของในวัยเรียนทั้งหมด
|
||
2 | 2. เพื่อให้เด็กในวัยเรียน ที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไขทุกคน
|
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อให้เด็กในวัยเรียน ได้รับการแก้ไขภาวะทุพโภชนาการ ไม่น้อยกว่าร้อยละ90 ของในวัยเรียนทั้งหมด |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อให้เด็กในวัยเรียน ที่มีภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไขทุกคน |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 | ||
ไม่ระบุวัตถุประสงค์ |
||||||
1 พ.ค. 68 - 31 ก.ค. 68 | - ค่าอาหารเช้าแกนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการ น้ำหนักน้อย (ผอม) สำหรับกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 15 คน คนละ 14 บาท/มื้อ จำนวน 50 มื้อ | 0.00 | 10,000.00 | - |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- เด็กได้รับการตรวจประเมินภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ และเด็กที่มีภาวะโภชนาการทุพโภชนาได้รับการแก้ไข ทุกคน ( ตามแบบการประเมิน ของกรมอนามัยซึ่งในระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียน DMC จะ
ประมาลผลปีการศึกษาละ 2 ครั้ง ) 2.โดยความร่วมมือกับผู้ปกครองนักเรียนร่วมกับชุมชน และผู้ที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 19 ก.พ. 2568 15:44 น.