โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางจิราภรณ์ เอี้ยวเหล็ก
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-03-22 เลขที่ข้อตกลง 22/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8008-03-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีระบบสาธารณสุขที่ให้การรักษาฟรีจริง แต่สำหรับคนทุพพลภาพ ประกอบด้วย 1) ผู้ป่วย 2) คนพิการ และ 3) ผู้สูงอายุ การเดินทางไปสถานพยาบาลตามแพทย์นัดนั้น มีต้นทุนในด้านค่าขนส่งถึง 1500 – 2500 บาทต่อเที่ยว ส่งผลให้ผู้ป่วยที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ไม่สามารถเข้าถึงบริการรถขนส่งผู้ป่วยไปสถานพยาบาลได้ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของประชาชน ปัญหานี้อาจส่งผลให้คนที่มีความจำเป็นต้องไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลไม่สามารถเข้ารับบริการได้อย่างทันเวลาและมีคุณภาพ เพราะขาดแคลนทุนทรัพย์ในการเดินทางด้วยรถขนส่งผู้ป่วย จนสุดท้ายต้องนอนทนความเจ็บป่วยอยู่ที่บ้าน หรือไม่สามารถเข้ารับการรักษาได้ตามอาการจนนำไปสู่การสูญเสียในที่สุด
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 ฉบับที่ 2 ประกอบกับประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพ เพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข พ.ศ.2567 ข้อ 4 ค่าใช้จ่ายสำหรับบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพให้จ่ายสำหรับให้บริการบุคคล 3 ประเภทนี้ ดังนี้
1. คนพิการ ได้แก่ บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน การดำรงชีวิตหรือทำกิจกรรมทางสังคม เนื่องจากความบกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด และมีความจำเป็นพิเศษที่ต้องได้รับความช่วยเหลือด้านใดด้านหนึ่งเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตประจำได้อย่างปกติ
2. ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือโดยไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ในการทำกิจวัตรประจำวัน หรือมีปัญหาสุขภาพเรื้อรังที่ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่อง หรือมีภาวะทุพพลภาพทางร่างกายหรือจิตใจ และขาดผู้ดูแลหรือญาติพี่น้องที่สามารถให้การช่วยเหลือได้
3. ผู้ที่มีความยากลำบากในการเข้าไปรับบริการสาธารณสุขด้วยตนเอง ได้แก่ บุคคลที่มีข้อจำกัดทางร่างกาย มีปัญหาสุขภาพจิต มีโรคเรื้อรังที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวหรือเดินทาง หรือบุคคลที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลหรือทุรกันดาร หรือเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะได้ยาก หรือบุคคลที่มีฐานะยากจน ไม่สามารถจ่ายค่าเดินทางไปสถานพยาบาลได้ ขาดผู้ดูแลหรือญาติที่สามารถพาไปรับบริการทางการแพทย์ มีอุปสรรคด้านการสื่อสารที่ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ด้วยตนเอง หรือบุคคลที่ต้องการการดูแลพิเศษระหว่างเดินทาง หรือมีความกลัวหรือวิตกกังวลอย่างรุนแรงเกี่ยวกับการออกนอกบ้านหรือเพื่อการเข้ารับบริการทางการแพทย์
ทั้งนี้ในพื้นที่เทศบาลเมืองสตูล ตำบลพิมานมีผู้สูงอายุจำนวน 4,035 ราย ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง 74 ราย (ข้อมูล ณ 20 กุมภาพันธ์ 2568) และยังมีผู้ป่วยยากไร้เป็นจำนวนมาก ทำให้บางรายไม่สามารถเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสม ดังนั้นศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลเมืองสตูล จึงจัดทำโครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 ช่วยเหลือประชาชนที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการรับ - ส่ง ผู้ป่วยเพื่อไปสถานพยาบาลได้ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาตามที่แพทย์นัดหมาย สร้างโอกาสให้ได้กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติ ซึ่งจะส่งผลไปยังญาติผู้ดูแลในการลดภาระค่าใช้จ่าย ให้สามารถกลับไปทำงานเพื่อหาเลี้ยงชีพและดูแลครอบครัวต่อไปได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดบริการให้ผู้ป่วยทุพพลภาพเข้าถึงบริการสาธารณสุข
- ผู้ป่วยทุพพลภาพมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการรถรับ - ส่งของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึงพิง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพผู้สูงอายุและด้านอื่น
- ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุเพื่อการเข้าถึงบริการสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
74
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุในชุมชน
2.ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุในชุมชนเขตเทศบาลเมืองสตูลเข้าถึงบริการสาธารณสุขในพื้นที่หรือที่จำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อจัดบริการให้ผู้ป่วยทุพพลภาพเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยทุพพลภาพเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ครบถ้วน
100.00
2
ผู้ป่วยทุพพลภาพมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการรถรับ - ส่งของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึงพิง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยทุพพลภาพที่รับบริการมีระดับความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80
0.00
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
74
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
74
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการให้ผู้ป่วยทุพพลภาพเข้าถึงบริการสาธารณสุข (2) ผู้ป่วยทุพพลภาพมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการรถรับ - ส่งของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึงพิง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพผู้สูงอายุและด้านอื่น (2) ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุเพื่อการเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-03-22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางจิราภรณ์ เอี้ยวเหล็ก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นางจิราภรณ์ เอี้ยวเหล็ก
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-03-22 เลขที่ข้อตกลง 22/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8008-03-22 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีระบบสาธารณสุขที่ให้การรักษาฟรีจริง แต่สำหรับคนทุพพลภาพ ประกอบด้วย 1) ผู้ป่วย 2) คนพิการ และ 3) ผู้สูงอายุ การเดินทางไปสถานพยาบาลตามแพทย์นัดนั้น มีต้นทุนในด้านค่าขนส่งถึง 1500 – 2500 บาทต่อเที่ยว ส่งผลให้ผู้ป่วยที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ไม่สามารถเข้าถึงบริการรถขนส่งผู้ป่วยไปสถานพยาบาลได้ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของประชาชน ปัญหานี้อาจส่งผลให้คนที่มีความจำเป็นต้องไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลไม่สามารถเข้ารับบริการได้อย่างทันเวลาและมีคุณภาพ เพราะขาดแคลนทุนทรัพย์ในการเดินทางด้วยรถขนส่งผู้ป่วย จนสุดท้ายต้องนอนทนความเจ็บป่วยอยู่ที่บ้าน หรือไม่สามารถเข้ารับการรักษาได้ตามอาการจนนำไปสู่การสูญเสียในที่สุด
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 ฉบับที่ 2 ประกอบกับประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพ เพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข พ.ศ.2567 ข้อ 4 ค่าใช้จ่ายสำหรับบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพให้จ่ายสำหรับให้บริการบุคคล 3 ประเภทนี้ ดังนี้
1. คนพิการ ได้แก่ บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน การดำรงชีวิตหรือทำกิจกรรมทางสังคม เนื่องจากความบกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด และมีความจำเป็นพิเศษที่ต้องได้รับความช่วยเหลือด้านใดด้านหนึ่งเพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตประจำได้อย่างปกติ
2. ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือโดยไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ในการทำกิจวัตรประจำวัน หรือมีปัญหาสุขภาพเรื้อรังที่ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่อง หรือมีภาวะทุพพลภาพทางร่างกายหรือจิตใจ และขาดผู้ดูแลหรือญาติพี่น้องที่สามารถให้การช่วยเหลือได้
3. ผู้ที่มีความยากลำบากในการเข้าไปรับบริการสาธารณสุขด้วยตนเอง ได้แก่ บุคคลที่มีข้อจำกัดทางร่างกาย มีปัญหาสุขภาพจิต มีโรคเรื้อรังที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวหรือเดินทาง หรือบุคคลที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลหรือทุรกันดาร หรือเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะได้ยาก หรือบุคคลที่มีฐานะยากจน ไม่สามารถจ่ายค่าเดินทางไปสถานพยาบาลได้ ขาดผู้ดูแลหรือญาติที่สามารถพาไปรับบริการทางการแพทย์ มีอุปสรรคด้านการสื่อสารที่ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ด้วยตนเอง หรือบุคคลที่ต้องการการดูแลพิเศษระหว่างเดินทาง หรือมีความกลัวหรือวิตกกังวลอย่างรุนแรงเกี่ยวกับการออกนอกบ้านหรือเพื่อการเข้ารับบริการทางการแพทย์
ทั้งนี้ในพื้นที่เทศบาลเมืองสตูล ตำบลพิมานมีผู้สูงอายุจำนวน 4,035 ราย ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง 74 ราย (ข้อมูล ณ 20 กุมภาพันธ์ 2568) และยังมีผู้ป่วยยากไร้เป็นจำนวนมาก ทำให้บางรายไม่สามารถเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขที่เหมาะสม ดังนั้นศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง เทศบาลเมืองสตูล จึงจัดทำโครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 ช่วยเหลือประชาชนที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการรับ - ส่ง ผู้ป่วยเพื่อไปสถานพยาบาลได้ เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาตามที่แพทย์นัดหมาย สร้างโอกาสให้ได้กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างเป็นปกติ ซึ่งจะส่งผลไปยังญาติผู้ดูแลในการลดภาระค่าใช้จ่าย ให้สามารถกลับไปทำงานเพื่อหาเลี้ยงชีพและดูแลครอบครัวต่อไปได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อจัดบริการให้ผู้ป่วยทุพพลภาพเข้าถึงบริการสาธารณสุข
- ผู้ป่วยทุพพลภาพมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการรถรับ - ส่งของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึงพิง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพผู้สูงอายุและด้านอื่น
- ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุเพื่อการเข้าถึงบริการสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 74 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เกิดเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุในชุมชน 2.ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุในชุมชนเขตเทศบาลเมืองสตูลเข้าถึงบริการสาธารณสุขในพื้นที่หรือที่จำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อจัดบริการให้ผู้ป่วยทุพพลภาพเข้าถึงบริการสาธารณสุข ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยทุพพลภาพเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ครบถ้วน |
100.00 |
|
||
2 | ผู้ป่วยทุพพลภาพมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการรถรับ - ส่งของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึงพิง ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยทุพพลภาพที่รับบริการมีระดับความพึงพอใจไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 |
0.00 | 80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 74 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 74 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อจัดบริการให้ผู้ป่วยทุพพลภาพเข้าถึงบริการสาธารณสุข (2) ผู้ป่วยทุพพลภาพมีความพึงพอใจต่อการจัดบริการรถรับ - ส่งของศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพบุคคลที่มีภาวะพึงพิง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพผู้สูงอายุและด้านอื่น (2) ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุเพื่อการเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการมอบรอยยิ้ม ให้ผู้ป่วยทุพพลภาพและผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองสตูล เข้าถึงบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L8008-03-22
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางจิราภรณ์ เอี้ยวเหล็ก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......