โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 ”
เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม
หัวหน้าโครงการ
นางเตือนใจ ชูพูล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568
ที่อยู่ เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-1-4 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม รหัสโครงการ 68-L-1505-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันกระแสสังคมทั่วโลกมีความสนใจและฟื้นฟูใช้ประโยชน์จากการแพทย์ดั้งเดิม เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพที่การแพทย์สมัยใหม่ไม่สามารถตอบสนองได้ทั้งหมด เช่นศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่เป็นการดูแลสุขภาพองค์รวม สอดคล้องกับวิถีชุมชนและวัฒนธรรมท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เป็น 1ใน 13 สาขาหลัก ที่จะเร่งรัดพัฒนาให้เป็นทางเลือกของประชาชน และยังเป็น 1 ใน 5 เรื่องหลักที่เร่งรัดปฏิรูป เพื่อบรรลุระบบสุขภาพไทยที่พึงประสงค์ในอีก 20 ปีข้างหน้า และเป้าหมายสุขภาพระดับโลก ประกอบด้วย เอกภาพการบริหาร
จัดการ การเงินการคลังด้านสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันปัจจัยเสี่ยง การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และการใช้ภูมิปัญญาไทย การแพทย์แผนไทยพัฒนาสุขภาพ
นอกจากนี้ เพื่อสนับสนุน การนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประเทศ กระทรวงสาธารณสุขจึงกำหนดนโยบาย การส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทย ในระบบบริการสาธารณสุขทุกระดับ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้พัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอนามัย ของประชาชน ร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน โดยผสมผสานสู่ระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ ทำให้สถานบริการสาธารณสุขของรัฐในส่วนภูมิภาค ทั้งในระดับโรงพยาบาล
ศูนย์ โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทุกแห่งมีการให้บริการการแพทย์แผนไทย
ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม เป็นหนึ่งหน่วยบริการที่ได้รับการสนับสนุนให้มีการดูแลผู้ป่วยแบบผสมผสานและนำวิถีทางการแพทย์แผนไทย ในการบูรณาการดูแลผู้ป่วยโดยมีการให้บริการ นวด อบ ประคบ ดูแลมารดาหลังคลอด การใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรค และเป็นที่ยอมรับจากผู้ป่วยเป็นอย่างดี แต่เนื่องด้วยมีบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยไม่เพียงพอ และบางพื้นที่อยู่ไกลจากหน่วยบริการ ทำให้ผู้ป่วยอีกจำนวนมาก เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส หรือประชาชน ที่ไม่สามารถเดินทางมาเข้าถึงการรับบริการได้ กลุ่มงานแพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จึงได้จัดทำ โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อให้ ประชาชนเข้าถึงการรับบริการแพทย์แผนไทยได้อย่างทั่วถึงเป็นทางเลือกในการรักษาให้กับประชาชน รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมและเพิ่มพูนความรู้ให้กับประชาชน ในการป้องกัน รักษาโรคเบื้องต้นด้วยการใช้ยาสมุนไพร และการแพทย์แผนไทย ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
- เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
- เพื่อจัดตั้งศูนย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 7 แห่ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย
- จัดทำศูนย์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 5 แห่ง
- ให้บริการตรวจรักษาทางการแพทย์แผนไทยแบบครบวงจร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม ได้เข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น
และมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน รักษาโรคเบื้องต้นด้วยการแพทย์แผนไทย การใช้สมุนไพรพื้นบ้านและการนวด
ตนเองและสามารถนำไปปฏิบัติด้วยตนเองและคนรอบข้างได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการทุกคนมีความรู้ในด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าถึงการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น
0.00
3
เพื่อจัดตั้งศูนย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 7 แห่ง
ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 5 แห่ง
ได้แก่
หมู่ที่ 3 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 5 จำนวน 1 แห่ง
หมู่ที่ 9 จำนวน 2 แห่ง
หมู่ที่ 11 จำนวน 1 แห่ง
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
125
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
125
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก (2) เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก (3) เพื่อจัดตั้งศูนย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 7 แห่ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย (2) จัดทำศูนย์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 5 แห่ง (3) ให้บริการตรวจรักษาทางการแพทย์แผนไทยแบบครบวงจร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเตือนใจ ชูพูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 ”
เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม
หัวหน้าโครงการ
นางเตือนใจ ชูพูล
กันยายน 2568
ที่อยู่ เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-1-4 เลขที่ข้อตกลง 14/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เขตพื้นที่รับผิดชอบ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม รหัสโครงการ 68-L-1505-1-4 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันกระแสสังคมทั่วโลกมีความสนใจและฟื้นฟูใช้ประโยชน์จากการแพทย์ดั้งเดิม เพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพที่การแพทย์สมัยใหม่ไม่สามารถตอบสนองได้ทั้งหมด เช่นศาสตร์การแพทย์แผนไทยที่เป็นการดูแลสุขภาพองค์รวม สอดคล้องกับวิถีชุมชนและวัฒนธรรมท้องถิ่น กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนดให้เป็น 1ใน 13 สาขาหลัก ที่จะเร่งรัดพัฒนาให้เป็นทางเลือกของประชาชน และยังเป็น 1 ใน 5 เรื่องหลักที่เร่งรัดปฏิรูป เพื่อบรรลุระบบสุขภาพไทยที่พึงประสงค์ในอีก 20 ปีข้างหน้า และเป้าหมายสุขภาพระดับโลก ประกอบด้วย เอกภาพการบริหาร จัดการ การเงินการคลังด้านสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันปัจจัยเสี่ยง การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว และการใช้ภูมิปัญญาไทย การแพทย์แผนไทยพัฒนาสุขภาพ นอกจากนี้ เพื่อสนับสนุน การนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ให้มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสุขภาพของประเทศ กระทรวงสาธารณสุขจึงกำหนดนโยบาย การส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทย ในระบบบริการสาธารณสุขทุกระดับ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงได้พัฒนาภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยให้เข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพอนามัย ของประชาชน ร่วมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน โดยผสมผสานสู่ระบบบริการสาธารณสุขของรัฐ ทำให้สถานบริการสาธารณสุขของรัฐในส่วนภูมิภาค ทั้งในระดับโรงพยาบาล ศูนย์ โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ทุกแห่งมีการให้บริการการแพทย์แผนไทย ปัจจุบันโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านควนเคี่ยม เป็นหนึ่งหน่วยบริการที่ได้รับการสนับสนุนให้มีการดูแลผู้ป่วยแบบผสมผสานและนำวิถีทางการแพทย์แผนไทย ในการบูรณาการดูแลผู้ป่วยโดยมีการให้บริการ นวด อบ ประคบ ดูแลมารดาหลังคลอด การใช้ยาสมุนไพรในการรักษาโรค และเป็นที่ยอมรับจากผู้ป่วยเป็นอย่างดี แต่เนื่องด้วยมีบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยไม่เพียงพอ และบางพื้นที่อยู่ไกลจากหน่วยบริการ ทำให้ผู้ป่วยอีกจำนวนมาก เช่น กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส หรือประชาชน ที่ไม่สามารถเดินทางมาเข้าถึงการรับบริการได้ กลุ่มงานแพทย์แผนไทย รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม จึงได้จัดทำ โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อให้ ประชาชนเข้าถึงการรับบริการแพทย์แผนไทยได้อย่างทั่วถึงเป็นทางเลือกในการรักษาให้กับประชาชน รวมทั้งยังเป็นการส่งเสริมและเพิ่มพูนความรู้ให้กับประชาชน ในการป้องกัน รักษาโรคเบื้องต้นด้วยการใช้ยาสมุนไพร และการแพทย์แผนไทย ต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
- เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก
- เพื่อจัดตั้งศูนย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 7 แห่ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย
- จัดทำศูนย์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 5 แห่ง
- ให้บริการตรวจรักษาทางการแพทย์แผนไทยแบบครบวงจร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 125 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนในเขตพื้นที่ รพ.สต.บ้านควนเคี่ยม ได้เข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยเพิ่มมากขึ้น และมีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกัน รักษาโรคเบื้องต้นด้วยการแพทย์แผนไทย การใช้สมุนไพรพื้นบ้านและการนวด ตนเองและสามารถนำไปปฏิบัติด้วยตนเองและคนรอบข้างได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ตัวชี้วัด : ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการทุกคนมีความรู้ในด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ตัวชี้วัด : ประชาชนเข้าถึงการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกเพิ่มขึ้น |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อจัดตั้งศูนย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 7 แห่ง ตัวชี้วัด : เกิดศูนย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 5 แห่ง ได้แก่ หมู่ที่ 3 จำนวน 1 แห่ง หมู่ที่ 5 จำนวน 1 แห่ง หมู่ที่ 9 จำนวน 2 แห่ง หมู่ที่ 11 จำนวน 1 แห่ง |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 125 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 125 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ในด้านการดูแลและส่งเสริมสุขภาพด้วยการใช้ศาสตร์แพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก (2) เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการให้บริการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก (3) เพื่อจัดตั้งศูนย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 7 แห่ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเพิ่มพูนความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย (2) จัดทำศูนย์การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในชุมชน จำนวน 5 แห่ง (3) ให้บริการตรวจรักษาทางการแพทย์แผนไทยแบบครบวงจร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการพัฒนาระบบบริการการเข้าถึงบริการแพทย์แผนไทยในชุมชน ของประชาชน ประจำปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-1-4
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเตือนใจ ชูพูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......