โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก ตำบลคลองใหม่ ปี 2568
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารก ตำบลคลองใหม่ ปี 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L3028-1-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองใหม่ |
วันที่อนุมัติ | 11 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 14,345.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายซาการียา มะบากอ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี |
ละติจูด-ลองจิจูด | 6.735,101.262place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ที่มา : การตั้งครรภ์เป็นระยะพัฒนาการที่สำคัญของครอบครัว การตั้งครรภ์ทำให้ร่างกายมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ทั้งในด้านกายวิภาค ชีวเคมี และสรีรวิทยา การเปลี่ยนแปลงนี้ดำเนินไป ตลอดการตั้งครรภ์ และร่างกายจะมีการปรับตัวอย่างมากมายกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆ ของร่างกาย ที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างสลับซับซ้อนสัมพันธ์กับปัจจัยต่างๆ นอกจากนี้ หญิงตั้งครรภ์ยังต้องปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคม ตัวอย่างบทบาทหน้าที่ ภาพลักษณ์สัมพันธภาพกับครอบครัว สภาพปัญหา : เป้าหมายสูงสุดของงานอนามัยแม่และเด็กที่สำคัญประการหนึ่งคือ ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย โดยมีกลวิธีที่จะบรรลุเป้าหมายดังกล่าว ได้แก่ การให้บริการตั้งแต่ก่อนการตั้งครรภ์และ ขณะตั้งครรภ์ การดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด การประเมินภาวะเสี่ยงของมารดาขณะตั้งครรภ์จะสามารถป้องกัน และแก้ไขปัญหา ทั้งที่จะเกิดแก่มารดาและทารกได้ ปัจจัยด้านอายุมารดาที่อายุน้อยและมารดาที่อายุมาก มีผลต่อการตั้งครรภ์และการคลอดทั้งทางตรงและทางอ้อม ตัวอย่าง เช่น การคลอดก่อนกำหนด วิธีการคลอด น้ำหนักทารกแรกเกิด การตายของมารดาและทารกตายปริกำเนิด ปัญหาการตั้งครรภ์เหล่านี้ เป็นผลมาจากการ ตั้งครรภ์ในช่วงอายุที่ไม่เหมาะสม ภาวะเสี่ยงต่างๆ ขณะตั้งครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ การดูแลสุขภาพตนเองขณะ ตั้งครรภ์ ทั้งในเรื่องการรับบริการฝากครรภ์ที่ครบตามเกณฑ์มีคุณภาพ ด้านโภชนาการ การรับประทานยา เรื่อง จัดการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การออกกําลังกายและการพักผ่อนเพื่อผ่อนคลาย รวมไปถึงการดูแลสุขภาพจิต ใจ และการปรับตัวเพื่อรับการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม เพื่อรองรับบทบาทหน้าที่ที่จะเกิดขึ้น ความเร่งด่วน / ผลที่คาดหวัง : จากการวิเคราะห์สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปี 2566-2567
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ครอบครัวตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลตนเองและทารกแรกเกิด
|
||
2 | 2. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์
|
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | ก.พ. 68 | มี.ค. 68 | เม.ย. 68 | พ.ค. 68 | มิ.ย. 68 | ก.ค. 68 | ส.ค. 68 | ก.ย. 68 |
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
1 | กิจกรรมที่ 1(21 ก.พ. 2568-30 ก.ย. 2568) | 14,345.00 | ||||||||
รวม | 14,345.00 |
1 กิจกรรมที่ 1 | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 0 | 14,345.00 | 0 | 0.00 | |
21 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | วิทยากรอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่เรื่องเมนูอาหาร พื้นบ้านเพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์ /หญิงหลังคลอด / ผู้ดูแล จำนวน 1 ท่าน x จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท | 0 | 3,600.00 | - | ||
21 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | 2. ค่าจ้างเหมาทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์โครงการฯ ขนาด ๑ x ๓ เมตร จำนวน ๑ ป้าย | 0 | 750.00 | - | ||
21 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | 3. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 37 คน x 60 บาท x 1 วัน | 0 | 2,220.00 | - | ||
21 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | 4. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 37 คน x 30 บาท x 2 มื้อ | 0 | 2,220.00 | - | ||
21 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | 5. ค่าแผ่นพับ 37 ชุด x 15 บาท | 0 | 555.00 | - | ||
21 ก.พ. 68 - 30 ก.ย. 68 | 6. ค่าสื่อโมเดลอาหารหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 1 ชุด | 0 | 5,000.00 | - | ||
1.หญิงตั้งครรภ์/มารดาหลังคลอด/ครอบครัวตระหนักสามารถดูแลสุขภาพตนเองและทารกแรกเกิด
2.ไม่เกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์/หลังคลอด
3.เด็กแรกเกิดต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว
4.ทารกแรกคลอดน้ำหนักต่ำกว่า 2500 กรัม ลดลง
5.ไม่มีหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ หลัง 12 สัปดาห์
6.ชุมชน มีแผนการดูแล หญิงวัยเจริญพันธ์ / หญิงตั้งครรภ์ / หญิงหลังคลอด /ทารกแรกคลอด อย่างต่อเนื่อง และ ยั่งยืน
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.พ. 2568 11:45 น.