กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง ”




หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุคนธ์ ชัยชนะ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง




ชื่อโครงการ โครงการพะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง

ที่อยู่ จังหวัด

รหัสโครงการ 68 - L7890 - 01 - 003 เลขที่ข้อตกลง 4

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68 - L7890 - 01 - 003 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,770.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการทำประชาคมสุขภาพโดยเครือข่ายในพื้นที่เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2567 พบว่า ปัญหาความดันโลหิตสูง เป็นปัญหาอันดับที่ 1 และจากสถิติ สาเหตุการป่วยของผู้ป่วยนอกตามกลุ่มโรค 10 อันดับแรก ตำบลพะตง พบว่า ความดันโลหิตสูงที่ไม่มีสาเหตุนำ ขึ้นเป็นอันดับที่ 1 ในทุกๆ ปี ดังนี้ 7,379, 3,704, 7,670, 7,290 และ 4,341 ราย (ปี 63, 64 65, 66 และ ๖๗ ตามลำดับ) (HDC จังหวัดสงขลา ปีงบประมาณ 2563-2567) อัตราป่วยรายใหม่ของโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร ปีงบประมาณ 2566 พบว่า ตำบลพะตงมีอัตราป่วยรายใหม่อยู่ที่ 1,401.21 (อยู่อันดับที่ 3 รองจากตำบลคลองอู่ตะเภาและคูเต่า โดยมีอัตราป่วยรายใหม่อยู่ที่ 1,546.39 และ 1,629.59 ตามลำดับ) (HDC จังหวัดสงขลา 13 พฤศจิกายน 2566) อัตราอุบัติใหม่ของโรคหลอดเลือดสมอง อำเภอหาดใหญ่ ปีงบประมาณ 2566 พบว่า ตำบลพะตงมีอัตราอุบัติใหม่อยู่ที่ 149.06 (อยู่อันดับที่ 4 รองจากตำบลน้ำน้อย ตำบลทุ่งใหญ่ และตำบลท่าข้าม โดยมีอัตราอุบัติใหม่อยู่ที่ 157.76, 164.59 และ 181.90 ตามลำดับ) (HDC จังหวัดสงขลา 13 พฤศจิกายน 2566) สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองในพะตงทุกราย พบว่ามีภาวะความดันโลหิตสูงร่วมด้วยทั้งหมด และพบว่าผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ควบคุมความดันโลหิตได้ดีเพียง ร้อยละ 55.3 เท่านั้น

จากปัญหาการควบคุมความดันโลหิตสูงไม่ได้ตามเกณฑ์ ได้นำมาวิเคราะห์พบสาเหตุของปัญหา ได้แก่ 1. ปัญหาทางด้านผู้ป่วย เช่น หยุดยาเอง กินยาไม่ถูกต้อง ขาดความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับความดันโลหิตสูง แปลความหมายของค่าความดันไม่ถูกต้อง เป็นต้น 2. ปัญหาทางด้านเจ้าหน้าที่ คือ มีความเร่งรีบ เนื่องด้วยจำนวนผู้ป่วยมาก ไม่มีเวลาอธิบายหรือให้คำแนะนำในการปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง 3. อสม. ไม่สามารถให้คำปรึกษากับผู้ป่วยในพื้นที่ได้ เนื่องจากความรู้และทักษะการให้คำปรึกษาเรื่องความดันโลหิตสูงไม่เพียงพอ ไม่มีความมั่นใจ ส่งผลให้ผู้ป่วยขาดความเชื่อมั่น 4. อุปกรณ์เครื่องวัดความดันโลหิต ไม่ได้รับการตรวจสอบความเที่ยงตรง ตามกำหนด เนื่องจากลืมส่งตรวจหรือขาดระบบการแจ้งเตือน 5. วิธีการวัดความดันโลหิตด้วยตนเองทำไม่ถูกต้อง

จากปัญหาต่างๆ ที่กล่าวมานั้น ทางทีมสหวิชาชีพ คือ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นักโภชนาการ นักกายภาพบำบัด และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่เทศบาลตำบลพะตง จึงวางแผนจัดตั้งโครงการ “พะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง” เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงมีความตระหนักรู้มากขึ้น และ อสม. มีความรู้ ความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ทราบถึง สาเหตุ, อาการของโรค, ภาวะแทรกซ้อน, การใช้ยาความดันโลหิตสูงและ การควบคุมอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้ฝึกปฏิบัติการวัดความดันโลหิตและแปลผลค่าความดันโลหิตได้ถูกต้อง
  3. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพ 3อ2ส. ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
  4. เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับค่าความดันโลหิตลดลง/ปกติ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมบุคลากรด้านสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. จัดอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
  4. ติดตามต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 6 เดือน
  5. ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
  6. มอบรางวัล "บุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ"
  7. สรุปผลโครงการ
  8. ประชุม บุคลากรด้านสาธารณสุขเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน
  9. ประชาสัมพันธ์ โครงการ “พะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง”
  10. จัดอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง อายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 100 คน
  11. ติดตามต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 6 เดือน
  12. ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในผู้ป่วยกลุ่มผู้ป่วยสีแดงตามปิงปองจราจร 7 สี
  13. มอบรางวัล “บุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ”
  14. สรุปผลโครงการรายงานผู้บริหารและกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพะตง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ทราบถึง สาเหตุ, อาการของโรค, ภาวะแทรกซ้อน, การใช้ยาความดันโลหิตสูงและการควบคุมอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม
  2. กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้ฝึกปฏิบัติการวัดความดันโลหิตและแปลผลค่าความดันโลหิตได้ถูกต้อง
  3. กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส. ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
  4. กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับค่าความดันโลหิตลดลง/ปกติ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ทราบถึง สาเหตุ, อาการของโรค, ภาวะแทรกซ้อน, การใช้ยาความดันโลหิตสูงและ การควบคุมอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูงผ่านเกณฑ์ประเมินผลจากการทำแบบทดสอบก่อนและหลังการอบรม
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้ฝึกปฏิบัติการวัดความดันโลหิตและแปลผลค่าความดันโลหิตได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 ได้ฝึกปฏิบัติการวัดความดันโลหิตและแปลผลได้อย่างถูกต้องหลังการอบรม
0.00

 

3 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพ 3อ2ส. ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 มีพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3อ2ส เพิ่มมากขึ้นภายใน 6 เดือน
0.00

 

4 เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับค่าความดันโลหิตลดลง/ปกติ
ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 มีระดับค่าความดันโลหิตลดลง/ปกติ หลังเข้าร่วมโครงการ 6 เดือน
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิตสูง ทราบถึง สาเหตุ, อาการของโรค, ภาวะแทรกซ้อน, การใช้ยาความดันโลหิตสูงและ                  การควบคุมอาหารอย่างถูกต้องและเหมาะสม (2) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ได้ฝึกปฏิบัติการวัดความดันโลหิตและแปลผลค่าความดันโลหิตได้ถูกต้อง (3) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพ 3อ2ส. ที่ถูกต้องเพิ่มขึ้น (4) เพื่อให้กลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูงควบคุมระดับค่าความดันโลหิตลดลง/ปกติ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมบุคลากรด้านสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่เกี่ยวข้อง (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) จัดอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง (4) ติดตามต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 6 เดือน (5) ลงพื้นที่ติดตามเยี่ยมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (6) มอบรางวัล "บุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ" (7) สรุปผลโครงการ (8) ประชุม บุคลากรด้านสาธารณสุขเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เพื่อกำหนดแนวทางการดำเนินงาน (9) ประชาสัมพันธ์ โครงการ “พะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง” (10) จัดอบรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยความดันโลหิตสูง อายุตั้งแต่ 35 ปี ขึ้นไป จำนวน 100 คน (11) ติดตามต่อเนื่องตลอดระยะเวลา 6 เดือน (12) ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ในผู้ป่วยกลุ่มผู้ป่วยสีแดงตามปิงปองจราจร 7 สี (13) มอบรางวัล “บุคคลต้นแบบด้านการดูแลสุขภาพ” (14) สรุปผลโครงการรายงานผู้บริหารและกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลพะตง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพะตงร่วมใจ ห่างไกลความดันโลหิตสูง จังหวัด

รหัสโครงการ 68 - L7890 - 01 - 003

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสุคนธ์ ชัยชนะ ตำแหน่ง ผู้อำนวยการสถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติฯ ตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด