โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
เทศบาล ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายจตุรงค์ ลิ่มดิลกธรรม ตำแหน่งประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เทศบาลตำบลพะตง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ เทศบาล ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7890-01-007 เลขที่ข้อตกลง 12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7890-01-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศไทยและทั่วโลก ผู้ป่วยเบาหวานหากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและปรับพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องภายใต้การดูแลของแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งไม่ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญ อาจส่งผลให้โรคเบาหวานทวีความรุนแรงขึ้น อีกทั้งยังอาจนำไปสู่การเกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ ภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต ปลายประสาท และเท้าได้ อีกทั้งยังเกิดภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรังอันนำไปสู่ ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติได้ ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานกว่า 5 ล้านราย โดยมีผู้ป่วยเพียงครึ่งหนึ่งที่ได้รับการรักษา และในจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา มีเพียง 1 ใน 3 คนที่สามารถบรรลุเป้าหมายของการรักษา สามารถควบคุมระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1c ให้ลดลงได้
ด้วยเหตุนี้ การพัฒนาคุณภาพบริการให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ จะต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญในพื้นที่เทศบาลตำบลพะตง ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากเป็นอันดับ 1 ของสถิติผู้ป่วยนอก และมีแนวโน้มจำนวนผู้ที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจะเพิ่มมากขึ้น ในปี 2566 พบผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 103 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 854 ราย และปี 2567 ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 98 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 867 ราย (ข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลตำบลพะตง)
ดังนั้น ชมรม อสม.เทศบาลตำบลพะตง ตระหนักถึงความสำคัญ ของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดตั้งโครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อจัดทำรูปแบบการจัดการโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงลดลง/ปกติ ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง โดยใช้ข้อมูลที่เป็นจริง เพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนในการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริงของแต่ละรายบุคคล รวมทั้งการใช้แบบบันทึกการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวานตามรูปแบบโปรแกรมการจัดการตนเองในการรับประทานอาหารแบบจำกัดเวลา และนำมาพูดคุยให้คำปรึกษา รวมทั้งหารือทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลเพื่อวางแผนการรักษาพยาบาลให้สอดคล้อง กับวิถีชีวิตของผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และมีการติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่องรายบุคคล พูดคุย สอบถามแนะนำทางโทรศัพท์ หรือ ไลน์ เพื่อลดการเดินทางมาโรงพยาบาลและประหยัดเวลาในการรอคอย ส่งผลให้ผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เข้าใจถึงความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง เพื่อลดความรุนแรงและความเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างยั่งยืน รวมถึงลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้อย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- จัดตั้งโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
- จัดกิจกรรมในโรงเรียนเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงวิทยา
- จัดตั้งเครือข่ายเพื่อให้ความรู้
- จัดประชุมชี้แจงโครงการให้ สมาชิกชมรม อสม. รับทราบแนวทางการดำเนินงาน
- ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง
- ให้ความรู้ตามหลักสูตร
- ตรวจวิเคราะห์มวลร่างกาย (Body scan) ครั้งแรกเมื่อเริ่มเข้าเรียน
- เจาะระดับน้ำตาลปลายนิ้วหลังอาหาร (DTX) 2 ชม. วัดความดันโลหิต ทุกครั้งที่มาเข้าเรียน
- จัดตั้งเครือข่ายเพื่อให้ความรู้ ผ่านรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Online ผ่านระบบ Line Application
- ประชุมติดตามประเมินผลโครงการ และรายงานผลโครงการ
- ตรวจวิเคราะห์มวลร่างกาย (Body scan) เมื่อเข้าเรียนครบ 12 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้เกิดโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ปกติ (DTX ≤ 126mg/dl) ร้อยละ ๖0
- ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ลดลง/ปกติ (HT ≤ 130/90mm/hg) ร้อยละ ๖0
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
จัดตั้งโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
ตัวชี้วัด : จัดตั้งโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 ประสบผลสำเร็จ ร้อยละ 100
0.00
2
เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 60
0.00
3
เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ ๖0
2. ผู้ป่วยความดันโลหิตสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีร้อยละ ๖0
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดตั้งโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ (3) จัดกิจกรรมในโรงเรียนเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงวิทยา (4) จัดตั้งเครือข่ายเพื่อให้ความรู้ (5) จัดประชุมชี้แจงโครงการให้ สมาชิกชมรม อสม. รับทราบแนวทางการดำเนินงาน (6) ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง (7) ให้ความรู้ตามหลักสูตร (8) ตรวจวิเคราะห์มวลร่างกาย (Body scan) ครั้งแรกเมื่อเริ่มเข้าเรียน (9) เจาะระดับน้ำตาลปลายนิ้วหลังอาหาร (DTX) 2 ชม. วัดความดันโลหิต ทุกครั้งที่มาเข้าเรียน (10) จัดตั้งเครือข่ายเพื่อให้ความรู้ ผ่านรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Online ผ่านระบบ Line Application (11) ประชุมติดตามประเมินผลโครงการ และรายงานผลโครงการ (12) ตรวจวิเคราะห์มวลร่างกาย (Body scan) เมื่อเข้าเรียนครบ 12 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7890-01-007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายจตุรงค์ ลิ่มดิลกธรรม ตำแหน่งประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เทศบาลตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
เทศบาล ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นายจตุรงค์ ลิ่มดิลกธรรม ตำแหน่งประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เทศบาลตำบลพะตง
กันยายน 2568
ที่อยู่ เทศบาล ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7890-01-007 เลขที่ข้อตกลง 12
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาล ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาล ตำบลพะตง อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L7890-01-007 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 84,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน เป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ซึ่งเป็นหนึ่งในปัญหาสุขภาพที่สำคัญของประเทศไทยและทั่วโลก ผู้ป่วยเบาหวานหากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและปรับพฤติกรรมอย่างต่อเนื่องภายใต้การดูแลของแพทย์และทีมสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งไม่ได้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงที่สำคัญ อาจส่งผลให้โรคเบาหวานทวีความรุนแรงขึ้น อีกทั้งยังอาจนำไปสู่การเกิดโรคแทรกซ้อนต่าง ๆ เช่น โรคหัวใจ ภาวะแทรกซ้อนทางตา ไต ปลายประสาท และเท้าได้ อีกทั้งยังเกิดภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรังอันนำไปสู่ ความพิการและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิต ภาวะเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ครอบครัว รวมทั้งประเทศชาติได้ ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเบาหวานกว่า 5 ล้านราย โดยมีผู้ป่วยเพียงครึ่งหนึ่งที่ได้รับการรักษา และในจำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการรักษา มีเพียง 1 ใน 3 คนที่สามารถบรรลุเป้าหมายของการรักษา สามารถควบคุมระดับน้ำตาลเฉลี่ยสะสมในเลือด HbA1c ให้ลดลงได้
ด้วยเหตุนี้ การพัฒนาคุณภาพบริการให้ประชาชนได้เข้าถึงบริการที่มีคุณภาพ จะต้องได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพจึงเป็นสิ่งสำคัญ ซึ่งปัญหาสุขภาพที่สำคัญในพื้นที่เทศบาลตำบลพะตง ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่ก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนมากเป็นอันดับ 1 ของสถิติผู้ป่วยนอก และมีแนวโน้มจำนวนผู้ที่เป็นโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงจะเพิ่มมากขึ้น ในปี 2566 พบผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 103 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 854 ราย และปี 2567 ผู้ป่วยเบาหวาน จำนวน 98 ราย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 867 ราย (ข้อมูลจากศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลตำบลพะตง)
ดังนั้น ชมรม อสม.เทศบาลตำบลพะตง ตระหนักถึงความสำคัญ ของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดตั้งโครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อจัดทำรูปแบบการจัดการโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงลดลง/ปกติ ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมให้ผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง โดยใช้ข้อมูลที่เป็นจริง เพื่อเป็นแรงขับเคลื่อนในการปรับเปลี่ยนให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตจริงของแต่ละรายบุคคล รวมทั้งการใช้แบบบันทึกการติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเบาหวานตามรูปแบบโปรแกรมการจัดการตนเองในการรับประทานอาหารแบบจำกัดเวลา และนำมาพูดคุยให้คำปรึกษา รวมทั้งหารือทีมสหวิชาชีพโรงพยาบาลเพื่อวางแผนการรักษาพยาบาลให้สอดคล้อง กับวิถีชีวิตของผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และมีการติดตามผลการรักษาอย่างต่อเนื่องรายบุคคล พูดคุย สอบถามแนะนำทางโทรศัพท์ หรือ ไลน์ เพื่อลดการเดินทางมาโรงพยาบาลและประหยัดเวลาในการรอคอย ส่งผลให้ผู้เป็นเบาหวาน ความดันโลหิตสูง เข้าใจถึงความสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้วยตนเอง เพื่อลดความรุนแรงและความเสี่ยงของโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่างยั่งยืน รวมถึงลดและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรคได้อย่างมีคุณภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- จัดตั้งโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
- เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้องเหมาะสม
- เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมคณะทำงาน
- ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ
- จัดกิจกรรมในโรงเรียนเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงวิทยา
- จัดตั้งเครือข่ายเพื่อให้ความรู้
- จัดประชุมชี้แจงโครงการให้ สมาชิกชมรม อสม. รับทราบแนวทางการดำเนินงาน
- ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง
- ให้ความรู้ตามหลักสูตร
- ตรวจวิเคราะห์มวลร่างกาย (Body scan) ครั้งแรกเมื่อเริ่มเข้าเรียน
- เจาะระดับน้ำตาลปลายนิ้วหลังอาหาร (DTX) 2 ชม. วัดความดันโลหิต ทุกครั้งที่มาเข้าเรียน
- จัดตั้งเครือข่ายเพื่อให้ความรู้ ผ่านรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Online ผ่านระบบ Line Application
- ประชุมติดตามประเมินผลโครงการ และรายงานผลโครงการ
- ตรวจวิเคราะห์มวลร่างกาย (Body scan) เมื่อเข้าเรียนครบ 12 ครั้ง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้เกิดโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568
- กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงมีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
- ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลอยู่ในเกณฑ์ปกติ (DTX ≤ 126mg/dl) ร้อยละ ๖0
- ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ลดลง/ปกติ (HT ≤ 130/90mm/hg) ร้อยละ ๖0
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | จัดตั้งโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 ตัวชี้วัด : จัดตั้งโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 ประสบผลสำเร็จ ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้องเหมาะสม ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีความรู้ และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ร้อยละ 60 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ร้อยละ ๖0 2. ผู้ป่วยความดันโลหิตสามารถควบคุมความดันโลหิตได้ดีร้อยละ ๖0 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดตั้งโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับความรู้ และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างถูกต้องเหมาะสม (3) เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ (3) จัดกิจกรรมในโรงเรียนเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงวิทยา (4) จัดตั้งเครือข่ายเพื่อให้ความรู้ (5) จัดประชุมชี้แจงโครงการให้ สมาชิกชมรม อสม. รับทราบแนวทางการดำเนินงาน (6) ค้นหากลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ ได้แก่ กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง และผู้ป่วยเบาหวาน/ ความดันโลหิตสูง (7) ให้ความรู้ตามหลักสูตร (8) ตรวจวิเคราะห์มวลร่างกาย (Body scan) ครั้งแรกเมื่อเริ่มเข้าเรียน (9) เจาะระดับน้ำตาลปลายนิ้วหลังอาหาร (DTX) 2 ชม. วัดความดันโลหิต ทุกครั้งที่มาเข้าเรียน (10) จัดตั้งเครือข่ายเพื่อให้ความรู้ ผ่านรูปแบบการเรียนการสอนแบบ Online ผ่านระบบ Line Application (11) ประชุมติดตามประเมินผลโครงการ และรายงานผลโครงการ (12) ตรวจวิเคราะห์มวลร่างกาย (Body scan) เมื่อเข้าเรียนครบ 12 ครั้ง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการโรงเรียนเบาหวาน ความดันโลหิตสูงวิทยา ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 68-L7890-01-007
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายจตุรงค์ ลิ่มดิลกธรรม ตำแหน่งประธานชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เทศบาลตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......