โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นและสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการผู้สูงอายุสุขภาพดี ด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นและสมุนไพรไทย ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | 68-L1486-03-04 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ชมรมผู้สูงอายุ ตำบลลิพัง |
วันที่อนุมัติ | 13 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 มีนาคม 2568 - 15 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 28,182.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวสมคิด ชัยศิริ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.184,99.81place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 28,182.00 | |||||
รวมงบประมาณ | 28,182.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 70 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด | |||
---|---|---|---|---|
1 | ประเทศไทยกาวเขาสู “สังคมสูงอายุอยางสมบูรณ” (ผูสูงอายุมากกวา รอยละ 20) และ ในป พ.ศ. 2574ประเทศไทยจะเปนสังคมสูงอายุระดับสุดยอด (ผูสูงอายุมากกวารอยละ 28) สถานการณผูสูงอายุที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องประกอบกับปญหาความเหลื่อมล้ำระหวางกลุมประชาก | 70.00 |
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงที่มารับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมโครงการ ได้รับประเมินและคัดกรองสุขภาพตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL) ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการสามารถตอบคำถาม เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเบื้องต้น ได้ถูกต้อง (มากกว่าร้อยละ 60) |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : ๑. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในผู้ป่วยเรื้อรังโรคเบาหวาน และ ความดันโลหิตสูงที่มารับยาต่อเนื่องที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลิพัง |
||||||
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้
- ค่าวิทยากร (ภาครัฐ) ชั่วโมงละ 600 บ. x 6 ชั่วโมง
= 3,600 บ. - ค่าอาหารกลางวัน มื้อละ 70 บ. x 70 คน
= 4,900 บ. - ค่าอาหารว่าง มื้อละ 25 บ. x 2 มื้อ x 70 คน
= 3,500 บ. - ค่าคู่มือ/เอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน ชุดละ 20 บ. x 70 คน
= 1,400 บ. - ค่าเอกสารทดสอบความรู้ก่อน-หลังชุดละ 5 บ. x 70 คน
= 350 บ. - ค่าอุปกรณ์และสมุนไพรทำยาหม่องไพล ชุดละ 120 บ. x 70 คน
1.น้ำมันไพลสกัดร้อน 1 ลิตร = 370บาท
2.เมนทอล 1 กก. = 1,200 บาท
3.การบูร 0.6 กก. = 510 บาท
4.พิมเสน 0.8 กก. = 880 บาท
5.น้ำมันระกำ 400 มล. = 750 บาท
6.น้ำมันเปเปอร์มิ้นต์ 400 มล. = 850บาท
7.น้ำมันยูคาลิปตัส 400 มล. = 850 บาท
8.วาสลีน 2.8 กก. = 700 บาท
9.ขี้ผึ้ง 1 กก. = 750 บาท
10.พาราฟิน 1 กก. = 230 บาท 11.กรีเซอร์รีน 120 มล 2ขวด = 260 บาท 12.ขวดแก้วมีฝาปิด 120 มล. 70 ขวด = 1050 บาท = 8,400 บาท
งบประมาณ
- ค่าอุปกรณ์และสมุนไพรทำยาดมสมุนไพร ชุดละ 80 บ. x 70 คน
1.ยาหอม 4 ห่อ = 520 บาท
2.ดอกจัน 0.4 กก. = 640 บาท
3.การบูร 0.2 กก. = 170 บาท
4.กานพลุ 0.2 กก. = 180 บาท
5.พริกไทยดำ 0.2 กก. = 140 บาท
6.ลูกผักชี 0.2 กก. = 30 บาท
7.กระวาน 0.2 กก. = 180 บาท
8.โป๊ยกั๊ก 0.2 กก. = 140 บาท
9.อบเชย 0.1 กก. = 90 บาท
10.น้ำมันเปปเปอมิ้นต์ 400 มล. = 850บาท
11.น้ำมันยูคาลิบตัส 400 มล. = 850 บาท
12.เมนทอล 0.6 กก. = 620 บาท
13.พิมเสน 0.4 กก = 440 บาท
14.ขวดพลาสติกขนาด 40 กรัม = 630 บาท
15.ผ้าตาข่าย = 80 บาท
16.สำลี = 40 บาท
= 5,600 บาท
- ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1.2x2.4 x 150 บาท
= 432 บาท
รวม 28,182 บาท
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เพื่อประเมินและคัดกรองสุขภาพตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน (ADL) ในผู้สูงอายุ 2. ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ในการดูแลสุขภาพ เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในเบื้องต้นได้ 3. ประเมินผลการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.พ. 2568 16:18 น.