โครงการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดม.3
ชื่อโครงการ | โครงการป้องกันแก้ไขปัญหายาเสพติดม.3 |
รหัสโครงการ | 68-L3013-02-12 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | กลุ่มหรือองค์กรประชาชน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่3 |
วันที่อนุมัติ | 13 มีนาคม 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 3 พฤษภาคม 2568 - 4 พฤษภาคม 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 4 มิถุนายน 2568 |
งบประมาณ | 13,070.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมูฮามัดซูกิฟลี ดาโอะ |
พี่เลี้ยงโครงการ | นายอับดุลกอเดร์ การีนา |
พื้นที่ดำเนินการ | ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 30 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ปัญหายาเสพติดปัจจุบันยังคงมีความรุนแรงและมีแนวโน้มแพร่ระบาดเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะในเขตชุมชนเมืองและชุมชนหนาแน่น เด็กและเยาวชนจึงเป็นกลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยงและมีโอกาสที่จะตกเป็นเหยื่อเข้าสู่วงจรของปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นอุปสรรคสำคัญในการพัฒนาประเทศ และเป็นการทำลายทรัพยากรบุคคลที่เป็นอนาคตและเป็นพลังในการขับเคลื่อนประเทศให้ด้อยคุณภาพลง ดังนั้นเด็กและเยาวชนจึงเป็นกลุ่มเป้าหมายที่สำคัญอย่างยิ่ง ที่จำเป็นต้องสร้างภูมิคุ้มกันและป้องกันให้ห่างไกลจากปัญหายาเสพติด ดังนั้น เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการป้องกันและแก้ไข้ยาเสพติดในหมู่บ้านยูโยตำบลบานาจึงเล็งเห็นว่าควรมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจัดกิจกรรมเสริมความรู้ให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชนในพื้นที่เพื่อเป็นการเสริมสร้างเกราะภูมิคุ้มกัน เพื่อเสริมความรู้ทางด้านสุขภาวะ ทางปัญญา โดยให้มีการฝึกอบรมรับฟังการบรรยายเกี่ยวกับโทษภัยของยาเสพติดและอบายมุขจากวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถเพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนมีสุขภาพที่ดีทางด้านจิตใจ ทางด้านร่างกาย และทางด้านสติปัญญา และเพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนได้ห่างไกลจากยาเสพติดและอบายมุขในพื้นที่ต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อสร้างทักษะการปฏิเสธไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติดให้กับกลุ่มเด็กและเยาวชน ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีทักษะการปฏิเสธไม่ยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด |
0.00 | |
2 | เพื่อให้กลุ่มเด็กและเยาวชนได้ทราบถึงโทษภัยจากยาเสพติดและอบายมุข ร้อยละ 100 เยาวชนรู้จักโทษของยาเสพติด และความผิดทางคดียาเสพติด |
0.00 |
ลำดับ | กิจกรรมหลัก | งบประมาณ | พ.ค. 68 |
---|---|---|---|
1 | กิจกรรมอบรมเสริมความรู้ต้านภัยยาเสพติด(3 พ.ค. 2568-3 พ.ค. 2568) | 8,070.00 | |
2 | เดินรณรงค์ต้านยาเสพติดและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โทษของยาเสพติดในชุมชน(4 พ.ค. 2568-4 พ.ค. 2568) | 5,000.00 | |
รวม | 13,070.00 |
1 กิจกรรมอบรมเสริมความรู้ต้านภัยยาเสพติด | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 30 | 8,070.00 | 0 | 0.00 | |
3 พ.ค. 68 | กิจกรรมอบรมเสริมความรู้ต้านภัยยาเสพติด | 30 | 8,070.00 | - | ||
2 เดินรณรงค์ต้านยาเสพติดและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โทษของยาเสพติดในชุมชน | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรมย่อย | 30 | 5,000.00 | 0 | 0.00 | |
4 พ.ค. 68 | เดินรณรงค์ต้านยาเสพติดและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์โทษของยาเสพติดในชุมชน | 30 | 5,000.00 | - | ||
- กลุ่มเยาวชนมีสุขภายทางใจ ทางกาย และทางสติปัญญาที่ดีขึ้น สามารถเผชิญกับภาวะเสี่ยงต่อสิ่งเสพติดและอบายมุขได้ 2.กลุ่มและเยาวชนได้ทราบถึงปัญหาและโทษภัยของยาเสพติดมากยิ่งขึ้น
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.พ. 2568 00:00 น.