กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในชุมชน หมู่ที่ 5 บ้านท่าเขา ตำบลลิพัง ปี 2568
รหัสโครงการ 68-L1486-02-10
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน
วันที่อนุมัติ 13 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 3 มีนาคม 2568 - 15 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 19,282.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสุวรรณี นาคขวัญ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลลิพัง อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
ละติจูด-ลองจิจูด 7.184,99.81place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 3 มี.ค. 2568 15 ก.ย. 2568 19,282.00
รวมงบประมาณ 19,282.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) โรคไข้เลือดออกเป็นเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง เป็นโรคติดต่ออันตรายที่มียุงลายเป็นพาหะนำโรค มักพบการระบาดในฤดูฝน และสามารถพบได้ตลอดทั้งปี พบมากในเด็กอายุระหว่าง ๕-๑๔ ปี ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงลอยตลอดเวลา หน้า
110.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อส่งเสริมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยอาศัยกลุ่มสมาชิกตัวแทนครัวเรือนในชุมชนเป็นแกนนำ ข้อที่ 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม ข้อที่ 3.เพื่อประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ข้อที่ 4. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตสเปรย์สมุนไพรไล่ยุงใช้ในครัวเรือน

วัตถุประสงค์ ข้อที่ 1.เพื่อส่งเสริมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยอาศัยกลุ่มสมาชิกตัวแทนครัวเรือนในชุมชนเป็นแกนนำ ข้อที่ 2.เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกที่ถูกวิธี และเหมาะสม ข้อที่ 3.เพื่อประชาชนกลุ่มเป้าหมายเกิดพฤติกรรมในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ ข้อที่ 4. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถผลิตสเปรย์สมุนไพรไล่ยุงใช้ในครัวเรือน

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

งบประมาณ
1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 1 มื้อ จำนวน 110 คน คนละ 25 บาท เป็นเงิน 2,750 บาท 3. ค่าวิทยากรอบรม 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท
เป็นเงิน 1,800 บาท 4.เอกสารความรู้ จำนวน 110 ชุด ชุดละ 30 บาท เป็นเงิน 3,300 บาท 5.ไวนิลป้ายโครงการ ขนาด 1.2 x 2.4 เมตร
จำนวน 1 ผืน เป็นเงิน 432 บาท 6.ค่าอุปกรณ์และสมุนไพรสำหรับทำสเปรย์ไล่ยุง จำนวน 110 ชุด ชุดละ 100 บาท
เป็นเงิน 11,000 บาท อุปกรณ์ 1 ชุดประกอบด้วย 1. กะละมัง 1 ชิ้น เป็นเงิน 20 บาท 2. พายกวน 1 ชิ้น เป็นเงิน 10 บาท 3. ขวดเสปรย์ 1 ขวด เป็นเงิน 10 บาท 4. เอทิลแอลกอฮอล์ 80 ซีซี ซีซีละ 0.5 บาท
เป็นเงิน 40 บาท 5. การบูร 20 กรัม กรัมละ 0.6 บาท
เป็นเงิน 12 บาท 6. น้ำมันตะไคร้สกัด 5 กรัม กรัมละ 1.6 บาท
เป็นเงิน 8 บาท รวมเป็นเงิน.............. 19,282...............บาท

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ       1. มีการทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลายในชุมชน
2. มีกิจกรรมรณรงค์ควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่อง
3.สามารถลดอัตราการป่วยและเสียชีวิตจากโรคไข้เลือดออกได้ 4.สามารถผลิตสเปรย์สมุนไพรไล่ยุงเพื่อใช้ในการดูแลตนเองได้

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2568 17:37 น.