โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการ
ชื่อโครงการ | โครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการ |
รหัสโครงการ | 68-L8300-3-05 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 3 สนับสนุนหน่วยงานที่มีหน้ารับผิดชอบเกี่ยวกับเด็ก ผู้สูงอายุ และคนพิการ |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูกา |
วันที่อนุมัติ | 21 กุมภาพันธ์ 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 38,150.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสาวมูรณี หะมิ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส |
ละติจูด-ลองจิจูด | 5.936,101.835place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 54 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 40 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นถือเป็นสถานศึกษา ตามมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 ซึ่งเป็นภารกิจที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับผิดชอบให้การอบรมเลี้ยงดู จัดประสบการณ์ และส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ให้เด็กเล็กมีความพร้อมทุกๆด้าน ทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ในส่วนของการส่งเสริมสุขภาพของเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดสำหรับเด็กก็ถือเป็นส่วนหนึ่งของภารกิจดังกล่าว ดังนั้น ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูกา สังกัดกองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม องค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง จึงได้ทำโครงการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยแบบบูรณาการ2 กิจกรรม ดังนี้ 1) กิจกรรม “ ตลดนัด 3 D วิถีชุมชนตำบลแว้ง เพื่อสุขภาพเด็กปฐมวัย” 2) กิจกรรม “หนึ่งวันแค้มป์สุขภาพเพื่อเด็กปฐมวัย (Day Camp)” ของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบาลูกา ซึ่งถือเป็นปัจจัยพื้นฐานที่จำเป็นในการดูแลเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านแบบบูรณาการ และยังเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมในการดูแลเด็กปฐมวัยร่วมกับผู้ปกครอง และชุมชน ตามแผนพัฒนาการศึกษา 5 ปี แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา และแผนปฏิบัติการประปีงบประมาณของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กด้วยโดยมีเป้าหมายเพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยแนวคิด 3 ดี ส่งเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านสุขภาวะทุกมิติและสามารถลดจำนวนเด็กที่มีปัญหาด้านโภชนาการ ปัญหาด้านพัฒนาการ ในปี 2568 จากเดิมให้น้อยลงได้มากที่สุดเพื่อสุขภาพที่ดีของเด็กปฐมวัยในศพด.และสามารถต่อยอดถึงเด็กที่อยู่ในชุมชนต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ทุกภาคส่วนในชุมชนมีส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยแนวคิด 3 ดี ส่งเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านสุขภาวะทุกมิติ เด็ก ครู และผู้ปกครอง ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ส่วนร่วมในการส่งเสริมสุขภาพเด็กปฐมวัยด้วยแนวคิด 3 ดี ส่งเสริมและพัฒนาเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการด้านสุขภาวะทุกมิติ |
||
2 | เพื่อจัดกระบวนการเรียนเกี่ยวกับสุขภาพผ่านสื่อและพื้นที่สร้างสรรค์ เด็กได้แลกเปลี่ยนเรียนและศึกษาจากประสบการณ์ตรง ครู ผู้ปกครอง เข้าใจกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับสุขภาพแบบบูรณาการ สามารถต่อยอดที่บ้านได้ |
||
3 | ครูมีเครือข่ายในการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ระหว่างครู หน่วยงาน ผู้ปกครอง และชุมชนในการดูแลสุขภาพแบบบูรณาการ เกิดเครือข่ายแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน เพื่อสุขภาพเด็กปฐมวัย |
วันที่ | ชื่อกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) | งบกิจกรรม (บาท) | ทำแล้ว | ใช้จ่ายแล้ว (บาท) | |
---|---|---|---|---|---|---|
รวม | 0 | 0.00 | 0 | 0.00 |
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ก.พ. 2568 02:44 น.