โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ”
ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปรีณาพรรณ กาญจนสำราญวงศ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์
กรกฎาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ที่อยู่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4129-08-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4129-08-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสาเหตุการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เช่นโรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน อัมพฤต อัมพาต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง และโรคอ้วน เป็นต้น ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องดังกล่าวเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ เรื่องการบริโภคอาหาร ขาดการออกกำลังกาย และ มีความเครียดทางอารมณ์ ทำให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา ซึ่งประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของคนในสังคมต้องดิ้นรน และต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของตนเอง ส่งผลให้ชีวิตประจำวันเกิดความเร่งรีบ มีความเครียดสั่งสมจากการทำงาน โอกาสในการออกกำลังกายมีน้อย บริโภคอาหารที่คำนึงถึงความสะดวกรวดเร็วอิ่มท้อง ต้องพึ่งพาบุหรี่ และแอลกอฮอล์ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวล้วนมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและภาวะโรคอ้วนลงพุง โดยในปัจจุบันประชาชน สามารถเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพได้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต แต่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และลดความเสี่ยงเหล่านี้ยังไม่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากการคัดกรองพบว่าการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสมตลอดจนการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ
มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังต่างๆ การค้นหาความเสี่ยงนับว่าเป็นหัวใจสำคัญของการตรวจสุขภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพให้แก่บุคคล จากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอเบตง ปี 2567 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด 22,072 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 1,786 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 8.09 กลุ่มป่วย 2,209 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.01 ของประชากรทั้งหมด และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 19,226 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 1,718 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.93 กลุ่มป่วย 5,244 ราย คิดเป็นร้อยละ 27.27 ของประชากรทั้งหมด และจากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลธารน้ำทิพย์ ปี 2567 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด 1,687 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 67 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 3.97 กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน 121 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.17 ของประชากรทั้งหมด และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 1,502 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 123 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.19 กลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 326 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.70 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งมีอัตราที่สูง และปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าว ได้แก่ การขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสมกับวัย ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้นำมาซึ่งความเจ็บป่วยและการสูญเสียตามมา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลธารน้ำทิพย์ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพปรับเปลี่ยน
ไปในทางที่ดีขึ้นเพิ่มขึ้น
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน
สามารถประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ เพิ่มขึ้น
- ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการในแบบต่างๆที่เลือกสรร และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง บุคคลในครอบครัว และชุมชน เพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพปรับเปลี่ยน ไปในทางที่ดีขึ้นเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
2
เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนสามารถประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
3
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการในแบบต่างๆที่เลือกสรร และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง บุคคลในครอบครัว และชุมชน เพิ่มขึ้นร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
60
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4129-08-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวปรีณาพรรณ กาญจนสำราญวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ”
ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวปรีณาพรรณ กาญจนสำราญวงศ์
กรกฎาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4129-08-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลธารน้ำทิพย์ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L4129-08-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 กุมภาพันธ์ 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลธารน้ำทิพย์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันสาเหตุการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เช่นโรคความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวาน อัมพฤต อัมพาต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็ง และโรคอ้วน เป็นต้น ซึ่งโรคต่างๆ เหล่านี้เกิดจากการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ซึ่งพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องดังกล่าวเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมสุขภาพ เรื่องการบริโภคอาหาร ขาดการออกกำลังกาย และ มีความเครียดทางอารมณ์ ทำให้เกิดโรคต่างๆ ตามมา ซึ่งประกอบกับการเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของคนในสังคมต้องดิ้นรน และต้องต่อสู้เพื่อความอยู่รอดของตนเอง ส่งผลให้ชีวิตประจำวันเกิดความเร่งรีบ มีความเครียดสั่งสมจากการทำงาน โอกาสในการออกกำลังกายมีน้อย บริโภคอาหารที่คำนึงถึงความสะดวกรวดเร็วอิ่มท้อง ต้องพึ่งพาบุหรี่ และแอลกอฮอล์ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวล้วนมีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของ โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคมะเร็งและภาวะโรคอ้วนลงพุง โดยในปัจจุบันประชาชน สามารถเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพได้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะการสื่อสารผ่านอินเตอร์เน็ต แต่ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และลดความเสี่ยงเหล่านี้ยังไม่สามารถนำไปสู่การปฏิบัติจริงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จากการคัดกรองพบว่าการดูแลสุขภาพที่ไม่เหมาะสมตลอดจนการมีพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพ
มีความสัมพันธ์กับการเพิ่มขึ้นของโรคเรื้อรังต่างๆ การค้นหาความเสี่ยงนับว่าเป็นหัวใจสำคัญของการตรวจสุขภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสร้างเสริมสุขภาพให้แก่บุคคล จากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอเบตง ปี 2567 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด 22,072 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 1,786 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 8.09 กลุ่มป่วย 2,209 ราย คิดเป็นร้อยละ 10.01 ของประชากรทั้งหมด และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 19,226 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 1,718 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.93 กลุ่มป่วย 5,244 ราย คิดเป็นร้อยละ 27.27 ของประชากรทั้งหมด และจากการดำเนินงานคัดกรองกลุ่มเสี่ยงอายุ 35 ปีขึ้นไป ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลธารน้ำทิพย์ ปี 2567 จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่คัดกรองโรคเบาหวานทั้งหมด 1,687 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 67 ราย คิดเป็นเป็นร้อยละ 3.97 กลุ่มป่วยด้วยโรคเบาหวาน 121 ราย คิดเป็นร้อยละ 7.17 ของประชากรทั้งหมด และจากการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 1,502 ราย พบกลุ่มเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 123 ราย คิดเป็นร้อยละ 8.19 กลุ่มป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง 326 ราย คิดเป็นร้อยละ 21.70 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งมีอัตราที่สูง และปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคดังกล่าว ได้แก่ การขาดการออกกำลังกาย พฤติกรรมการสูบบุหรี่ ดื่มแอลกอฮอล์ พฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสมกับวัย ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้นำมาซึ่งความเจ็บป่วยและการสูญเสียตามมา
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลธารน้ำทิพย์ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรังดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต
- เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพปรับเปลี่ยน
ไปในทางที่ดีขึ้นเพิ่มขึ้น
- ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อน สามารถประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ เพิ่มขึ้น
- ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการในแบบต่างๆที่เลือกสรร และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง บุคคลในครอบครัว และชุมชน เพิ่มขึ้น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มขึ้น ทำให้มีพฤติกรรมสุขภาพปรับเปลี่ยน ไปในทางที่ดีขึ้นเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80 |
|
|||
2 | เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยด้วยโรคเรื้อรังมีความรู้ และทักษะในการดูแลตนเอง เพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนสามารถประเมิน และแก้ไขปัญหาภาวะสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชนได้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 |
|
|||
3 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน ตัวชี้วัด : ผู้เข้าอบรมมีทักษะในการฝึกปฏิบัติการในแบบต่างๆที่เลือกสรร และนำไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง บุคคลในครอบครัว และชุมชน เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 60 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 30 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับความรู้ และประสบการณ์ในการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งทางด้านอาหาร การออกกำลังกาย และการส่งเสริมสุขภาพจิต (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้ฝึกทักษะในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และสามารถนำกลับไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงและผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L4129-08-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวปรีณาพรรณ กาญจนสำราญวงศ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......