โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568 ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนันทนา ไกรเทพ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568
ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-1-8 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย รหัสโครงการ 68-L-1505-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหลอดเลือดหัวใจ (STROKE, STEMI) รวมถึงโรคไตวายเรื้อรัง และโรคแทรกซ้อนอื่นๆ และเป็นสาเหตุของ การเสียชีวิต ความทุพพลภาพกับผู้ป่วย เนื่องจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ก่อให้หลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) ทำให้อัตราการไหลเวียนเลือดในสมองลดลง เกิดสมองขาดเลือด ทำให้เป็นโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น (Buenaflor,2017 อ้างถึงใน พรชัย จูลเมตต์, 2565, น. 22) มีรายงานว่าผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้เพิ่มมากกว่าปกติ 2 - 6 เท่าและในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 40 ตรวจพบ มีโรคเบาหวานร่วมด้วย (kleindorfer, 2021 อ้างถึงใน พรชัย จูลเมตต์, 2565, น. 22)
ในปัจจุบันสำหรับการดำเนินงานด้านการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหว พบว่าผู้ป่วยเบาหวายังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้อย่างสม่ำเสมอจากการติดตามเจาะเลือดสะสมย้อนหลังของผู้ป่วยทุก3เดือน 4ครั้งใน 1 ปีงบประมาณ 2567 ปรากฏว่าผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนรักษาเข้าคลินิกของรพ.สต.ทุ่งค่าย มีจำนวน 125 คนสามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดีที่สุด จำนวน 15 คนคิดเป็นร้อยละ 12 และควบคุมน้ำตาลได้บ้างไม่ได้บ้าง จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 33.6 และควบคุมไม่ได้เลยจำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 54.4 (จากการติดตามเจาะเลือดผู้ป่วยหาค่าเลือดสะสมย้อนหลัง(HBA1C) ทุก 3 เดือนจำนวน 4ครั้ง ใน 1 ปีงบประมาณ 2567)
รพ.สต.ทุ่งค่าย เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและมีความตระหนักในการดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ จึงเขียนโครงการเพื่อของบกองทุนตำบล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มาดำเนินนการจัดกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยเบาหวานเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission)โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เน้น3อ2ส.เป็นหลักและการติดตามประเมินความก้าวหน้าของโรคเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาในอนาคตข้างหน้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพโดยปรับลักษณะการรับประทานอาหารแบบลดแคลลอรี่ 2:1:1 ผู้ป่วยรู้จักการรับประทานอาหารแบบแลกเปลี่ยน
- ผู้ป่วยเบาหวานลดการใช้ยา มีค่าน้ำตาลสะสม HB1C ต่ำกว่า 6.5 ต่อเนื่อง เกิด DM remission
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เจาะน้ำตาลในเลือดที่บ้าน สัปดาห์ละ3 วัน วันละ 2 ครั้ง(วันจันทร์,พุธ,ศุกร์) ก่อนอาหารเช้า และหลังอาหารเช้า 2 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 3 เดือน
- ให้ความรู้ในการปรับพฤติกรรมตามแนวทางการสร้างสุขภาพดีวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
- ติดตามประเมินผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการในการปรับพฤติกรรมหลังรับการอบรมและเป็นผู้ป่วยที่มีแนวโน้มสามารถหยุดยาเบาหวานได้จำนวน 4 ราย
- เจาะ HbA1C ในระยะ 3 เดือน และ 6 เดือนหลังเข้าร่วมโครงการ ประเมินผลตรวจสุขภาพหลังอบรม 3 เดือน และ 6 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวานร้อยละ 100
- ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ไม่เกิน 110 มิลลิกรัมเปอร์เซ็น) ร้อยละ100
- ผลการเจาะน้ำตาลสะสมในเลือด(ค่า HBA1C ไม่เกิน 6.5) เดือนที่ 3 และเดือนที่ 6มีค่าน้อยกว่า 7 ร้อยละ100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ร้อยละ 100
0.00
2
เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพโดยปรับลักษณะการรับประทานอาหารแบบลดแคลลอรี่ 2:1:1 ผู้ป่วยรู้จักการรับประทานอาหารแบบแลกเปลี่ยน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพ ทำแบบทดสอบได้คะแนนร้อยละ 100
0.00
3
ผู้ป่วยเบาหวานลดการใช้ยา มีค่าน้ำตาลสะสม HB1C ต่ำกว่า 6.5 ต่อเนื่อง เกิด DM remission
ตัวชี้วัด : 3.1 ร้อยละ 100 ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรม สามารถลดการใช้ยาโรคเบาหวานได้
3.2 ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรม สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ HbA1C < 6.5 เข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM remission) ต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 เดือนโดยไม่ใช้ยา
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
30
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพโดยปรับลักษณะการรับประทานอาหารแบบลดแคลลอรี่ 2:1:1 ผู้ป่วยรู้จักการรับประทานอาหารแบบแลกเปลี่ยน (3) ผู้ป่วยเบาหวานลดการใช้ยา มีค่าน้ำตาลสะสม HB1C ต่ำกว่า 6.5 ต่อเนื่อง เกิด DM remission
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เจาะน้ำตาลในเลือดที่บ้าน สัปดาห์ละ3 วัน วันละ 2 ครั้ง(วันจันทร์,พุธ,ศุกร์) ก่อนอาหารเช้า และหลังอาหารเช้า 2 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 3 เดือน (2) ให้ความรู้ในการปรับพฤติกรรมตามแนวทางการสร้างสุขภาพดีวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง (3) ติดตามประเมินผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการในการปรับพฤติกรรมหลังรับการอบรมและเป็นผู้ป่วยที่มีแนวโน้มสามารถหยุดยาเบาหวานได้จำนวน 4 ราย (4) เจาะ HbA1C ในระยะ 3 เดือน และ 6 เดือนหลังเข้าร่วมโครงการ ประเมินผลตรวจสุขภาพหลังอบรม 3 เดือน และ 6 เดือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวนันทนา ไกรเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568 ”
ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย
หัวหน้าโครงการ
นางสาวนันทนา ไกรเทพ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-1-8 เลขที่ข้อตกลง 18/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ห้องประชุมโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งค่าย รหัสโครงการ 68-L-1505-1-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,650.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งค่าย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเบาหวาน เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง และโรคหลอดเลือดหัวใจ (STROKE, STEMI) รวมถึงโรคไตวายเรื้อรัง และโรคแทรกซ้อนอื่นๆ และเป็นสาเหตุของ การเสียชีวิต ความทุพพลภาพกับผู้ป่วย เนื่องจากภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ก่อให้หลอดเลือดแดงแข็ง (Atherosclerosis) ทำให้อัตราการไหลเวียนเลือดในสมองลดลง เกิดสมองขาดเลือด ทำให้เป็นโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น (Buenaflor,2017 อ้างถึงใน พรชัย จูลเมตต์, 2565, น. 22) มีรายงานว่าผู้ที่เป็นโรคเบาหวานมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้เพิ่มมากกว่าปกติ 2 - 6 เท่าและในผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองร้อยละ 40 ตรวจพบ มีโรคเบาหวานร่วมด้วย (kleindorfer, 2021 อ้างถึงใน พรชัย จูลเมตต์, 2565, น. 22) ในปัจจุบันสำหรับการดำเนินงานด้านการดูแลรักษาผู้ป่วยเบาหว พบว่าผู้ป่วยเบาหวายังไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้อย่างสม่ำเสมอจากการติดตามเจาะเลือดสะสมย้อนหลังของผู้ป่วยทุก3เดือน 4ครั้งใน 1 ปีงบประมาณ 2567 ปรากฏว่าผู้ป่วยเบาหวานที่ขึ้นทะเบียนรักษาเข้าคลินิกของรพ.สต.ทุ่งค่าย มีจำนวน 125 คนสามารถควบคุมน้ำตาลในเลือดได้ดีที่สุด จำนวน 15 คนคิดเป็นร้อยละ 12 และควบคุมน้ำตาลได้บ้างไม่ได้บ้าง จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 33.6 และควบคุมไม่ได้เลยจำนวน 65 คน คิดเป็นร้อยละ 54.4 (จากการติดตามเจาะเลือดผู้ป่วยหาค่าเลือดสะสมย้อนหลัง(HBA1C) ทุก 3 เดือนจำนวน 4ครั้ง ใน 1 ปีงบประมาณ 2567) รพ.สต.ทุ่งค่าย เล็งเห็นถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วยเบาหวาน ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวานและมีความตระหนักในการดูแลตัวเองอย่างถูกต้อง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ จึงเขียนโครงการเพื่อของบกองทุนตำบล สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ มาดำเนินนการจัดกิจกรรมการดูแลผู้ป่วยเบาหวานเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission)โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เน้น3อ2ส.เป็นหลักและการติดตามประเมินความก้าวหน้าของโรคเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมาในอนาคตข้างหน้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน
- เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพโดยปรับลักษณะการรับประทานอาหารแบบลดแคลลอรี่ 2:1:1 ผู้ป่วยรู้จักการรับประทานอาหารแบบแลกเปลี่ยน
- ผู้ป่วยเบาหวานลดการใช้ยา มีค่าน้ำตาลสะสม HB1C ต่ำกว่า 6.5 ต่อเนื่อง เกิด DM remission
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- เจาะน้ำตาลในเลือดที่บ้าน สัปดาห์ละ3 วัน วันละ 2 ครั้ง(วันจันทร์,พุธ,ศุกร์) ก่อนอาหารเช้า และหลังอาหารเช้า 2 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 3 เดือน
- ให้ความรู้ในการปรับพฤติกรรมตามแนวทางการสร้างสุขภาพดีวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
- ติดตามประเมินผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการในการปรับพฤติกรรมหลังรับการอบรมและเป็นผู้ป่วยที่มีแนวโน้มสามารถหยุดยาเบาหวานได้จำนวน 4 ราย
- เจาะ HbA1C ในระยะ 3 เดือน และ 6 เดือนหลังเข้าร่วมโครงการ ประเมินผลตรวจสุขภาพหลังอบรม 3 เดือน และ 6 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | |
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเรื่องโรคเบาหวานร้อยละ 100
- ผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ (ไม่เกิน 110 มิลลิกรัมเปอร์เซ็น) ร้อยละ100
- ผลการเจาะน้ำตาลสะสมในเลือด(ค่า HBA1C ไม่เกิน 6.5) เดือนที่ 3 และเดือนที่ 6มีค่าน้อยกว่า 7 ร้อยละ100
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน ร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพโดยปรับลักษณะการรับประทานอาหารแบบลดแคลลอรี่ 2:1:1 ผู้ป่วยรู้จักการรับประทานอาหารแบบแลกเปลี่ยน ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพ ทำแบบทดสอบได้คะแนนร้อยละ 100 |
0.00 |
|
||
3 | ผู้ป่วยเบาหวานลดการใช้ยา มีค่าน้ำตาลสะสม HB1C ต่ำกว่า 6.5 ต่อเนื่อง เกิด DM remission ตัวชี้วัด : 3.1 ร้อยละ 100 ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรม สามารถลดการใช้ยาโรคเบาหวานได้ 3.2 ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรม สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ HbA1C < 6.5 เข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM remission) ต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 เดือนโดยไม่ใช้ยา |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | 30 | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเบาหวาน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการปรับพฤติกรรมสุขภาพโดยปรับลักษณะการรับประทานอาหารแบบลดแคลลอรี่ 2:1:1 ผู้ป่วยรู้จักการรับประทานอาหารแบบแลกเปลี่ยน (3) ผู้ป่วยเบาหวานลดการใช้ยา มีค่าน้ำตาลสะสม HB1C ต่ำกว่า 6.5 ต่อเนื่อง เกิด DM remission
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) เจาะน้ำตาลในเลือดที่บ้าน สัปดาห์ละ3 วัน วันละ 2 ครั้ง(วันจันทร์,พุธ,ศุกร์) ก่อนอาหารเช้า และหลังอาหารเช้า 2 ชั่วโมง เป็นระยะเวลา 3 เดือน (2) ให้ความรู้ในการปรับพฤติกรรมตามแนวทางการสร้างสุขภาพดีวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง (3) ติดตามประเมินผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการในการปรับพฤติกรรมหลังรับการอบรมและเป็นผู้ป่วยที่มีแนวโน้มสามารถหยุดยาเบาหวานได้จำนวน 4 ราย (4) เจาะ HbA1C ในระยะ 3 เดือน และ 6 เดือนหลังเข้าร่วมโครงการ ประเมินผลตรวจสุขภาพหลังอบรม 3 เดือน และ 6 เดือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในผู้ป่วยเบาหวาน เพื่อเข้าสู่เบาหวานระยะสงบ (DM Remission) รพ.สต.ทุ่งค่ายประจำปี2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L-1505-1-8
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวนันทนา ไกรเทพ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......