โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภาพร คุ้นเคย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-03-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาปีพุทธศักราช 2542 ระบุไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง บ้าน ชุมชน และโรงเรียนควรร่วมกันจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพอย่างยั่งยืน ในปัจจุบันนี้พบว่าการเกิดอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และเกิดความรุนแรงจากอุบัติเหตุบนท้องถนนกับเด็กเป็นจำนวนมาก จากการสำรวจพบว่าประเทศไทยมีอัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุดเป็นอันดับ ๑ ของโลก ซึ่ง ๘๐% ของอุบัติเหตุทางถนน เกิดจากการใช้รถจักรยานยนต์ แต่คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญกับการปกป้องตนเองจากความเสี่ยงดังกล่าว สอดคล้องกับข้อมูลที่บอกว่า มีผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในเมืองไทย โดยเฉพาะเด็ก ใส่หมวกกันน็อกเพียงแค่ ๘% เท่านั้น ทำให้มีเด็กไทย เสียชีวิตจากการไม่ใส่หมวกกันน็อก ถึง ๕,๐๐๐ คน ต่อปี ปัจจุบันเด็กและเยาวชนจำนวนมาก มีความจำเป็นต้องเดินทางไปยังสถานศึกษาในรูปแบบต่างๆ เช่น ผู้ปกครองขับขี่รถมอเตอร์ไซด์ไปส่ง หรือเยาวชนขับขี่ด้วยตนเอง ซึ่งล้วนแต่มีความเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนด้วยกันทั้งสิ้น และเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุสูงก็คือ ขับขี่หรือซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ไปยังสถานศึกษา ซึ่งบางคนมีพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่ เช่น ขาดประสบการณ์และทักษะในการขับขี่ ประมาท ไม่เคารพกฎจราจร ขาดจิตสำนึกในการใช้รถใช้ถนน ไม่ใส่ใจในความปลอดภัยของตนเองและเพื่อนร่วมทาง พฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลให้การเกิดอุบัติเหตุในเด็กและเยาวชนซึ่งอยู่ในวัยกำลังเรียน มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
อุบัติเหตุทางน้ำยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กไทยเสียชีวิตมากที่สุดเช่นกัน จากสภาพปัญหาของเด็กจมน้ำตายเป็นอุบัติเหตุที่ผู้เกี่ยวข้องกับเด็กไม่ให้ความสนใจศึกษาสาเหตุ และสร้างมาตรการป้องกัน ทั้งนี้อุบัติเหตุการจมน้ำมีในทุกกลุ่มอายุของเด็ก ตั้งแต่เด็กปฐมวัยถึงเด็กวัยรุ่น และอัตราการตายมีสถิติสูงกว่าอุบัติเหตุอื่นๆ ซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นน้ำของเด็ก เช่น อากาศร้อน สามารถเข้าถึงแหล่งน้ำธรรมชาติได้ง่าย และไม่มีผู้ดูแล อีกหนึ่งสาเหตุคือพฤติกรรมการเล่นน้ำของเด็กๆ การป้องกันตนเอง และไม่มีทักษะในการช่วยเหลือหรือเอาชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์ตกน้ำ จากการจมน้ำ ปลูกฝังให้เด็กรู้จักการ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และรู้จักการตะโกน โยน ยื่น เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เด็กมีชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์จริงได้
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน เพื่อปลูกจิตสำนึกและเปลี่ยนพฤติกรรมให้เด็กไทยสวมหมวกกันน็อกจนเป็นนิสัย เพื่อลดความเสี่ยงและความรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนนให้เหลือน้อยที่สุด โดยมุ่งเน้นดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่สำคัญคือ ให้ความรู้ความเข้าใจ ปลูกฝังจิตสำนึกความปลอดภัยให้เหมาะสมกับวัย เพื่อเป็นการสร้าง ภูมิคุ้มกันความเสี่ยงในการดำเนินชีวิตทั้งปัจจุบันและอนาคต ที่จะแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนได้อย่างตรงจุด คือ การให้ความรู้ควบคู่ไปกับความสนุกสนาน เกิดประสบการณ์จริง ซึ่งไม่เพียงแต่เด็กนักเรียนเท่านั้นที่จะได้รับความรู้ ผู้ปกครอง และครู ก็จะได้รับความรู้พร้อมกันไปด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ
- เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ ที่ได้จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไปปฏิบัติตามได้
- เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ
- เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ร่วมกันสวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง ที่นั่งซ้อนรถมอเตอร์ไซด์และการรู้จักวิธีการเอาตัวรอดกรณีติดอยู่ในรถยนต์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและ
อุบัติเหตุทางน้ำ
๒. เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนน
และอุบัติเหตุทางน้ำ ที่ได้จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไปปฏิบัติตามได้
๓. เด็กนักเรียนรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อ
การตกน้ำ จมน้ำและร่วมกันสวมหมวกกันน็อคในการลดความรุนแรงจากการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน
และรู้จักวิธีการเอาตัวรอดกรณีติดอยู่ในรถ
๔. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาวิเศษ มีวัสดุ-อุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ให้ความรู้เรื่องการ
ป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย การปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ ที่ได้จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไปปฏิบัติตามได้
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ร่วมกันสวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง ที่นั่งซ้อนรถมอเตอร์ไซด์และการรู้จักวิธีการเอาตัวรอดกรณีติดอยู่ในรถยนต์
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ (2) เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ ที่ได้จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไปปฏิบัติตามได้ (3) เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ (4) เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ร่วมกันสวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง ที่นั่งซ้อนรถมอเตอร์ไซด์และการรู้จักวิธีการเอาตัวรอดกรณีติดอยู่ในรถยนต์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสุภาพร คุ้นเคย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน ”
ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสุภาพร คุ้นเคย
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-03-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาวิเศษ อำเภอวังวิเศษ จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1516-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,140.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาวิเศษ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาปีพุทธศักราช 2542 ระบุไว้ว่าการจัดการศึกษาต้องยึดหลักผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง บ้าน ชุมชน และโรงเรียนควรร่วมกันจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพอย่างยั่งยืน ในปัจจุบันนี้พบว่าการเกิดอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และเกิดความรุนแรงจากอุบัติเหตุบนท้องถนนกับเด็กเป็นจำนวนมาก จากการสำรวจพบว่าประเทศไทยมีอัตราผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนมากที่สุดเป็นอันดับ ๑ ของโลก ซึ่ง ๘๐% ของอุบัติเหตุทางถนน เกิดจากการใช้รถจักรยานยนต์ แต่คนไทยส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญกับการปกป้องตนเองจากความเสี่ยงดังกล่าว สอดคล้องกับข้อมูลที่บอกว่า มีผู้ใช้รถจักรยานยนต์ในเมืองไทย โดยเฉพาะเด็ก ใส่หมวกกันน็อกเพียงแค่ ๘% เท่านั้น ทำให้มีเด็กไทย เสียชีวิตจากการไม่ใส่หมวกกันน็อก ถึง ๕,๐๐๐ คน ต่อปี ปัจจุบันเด็กและเยาวชนจำนวนมาก มีความจำเป็นต้องเดินทางไปยังสถานศึกษาในรูปแบบต่างๆ เช่น ผู้ปกครองขับขี่รถมอเตอร์ไซด์ไปส่ง หรือเยาวชนขับขี่ด้วยตนเอง ซึ่งล้วนแต่มีความเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนนด้วยกันทั้งสิ้น และเป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดอุบัติเหตุสูงก็คือ ขับขี่หรือซ้อนท้ายรถจักรยานยนต์ไปยังสถานศึกษา ซึ่งบางคนมีพฤติกรรมเสี่ยงในการขับขี่ เช่น ขาดประสบการณ์และทักษะในการขับขี่ ประมาท ไม่เคารพกฎจราจร ขาดจิตสำนึกในการใช้รถใช้ถนน ไม่ใส่ใจในความปลอดภัยของตนเองและเพื่อนร่วมทาง พฤติกรรมเหล่านี้ส่งผลให้การเกิดอุบัติเหตุในเด็กและเยาวชนซึ่งอยู่ในวัยกำลังเรียน มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
อุบัติเหตุทางน้ำยังเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กไทยเสียชีวิตมากที่สุดเช่นกัน จากสภาพปัญหาของเด็กจมน้ำตายเป็นอุบัติเหตุที่ผู้เกี่ยวข้องกับเด็กไม่ให้ความสนใจศึกษาสาเหตุ และสร้างมาตรการป้องกัน ทั้งนี้อุบัติเหตุการจมน้ำมีในทุกกลุ่มอายุของเด็ก ตั้งแต่เด็กปฐมวัยถึงเด็กวัยรุ่น และอัตราการตายมีสถิติสูงกว่าอุบัติเหตุอื่นๆ ซึ่งส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเล่นน้ำของเด็ก เช่น อากาศร้อน สามารถเข้าถึงแหล่งน้ำธรรมชาติได้ง่าย และไม่มีผู้ดูแล อีกหนึ่งสาเหตุคือพฤติกรรมการเล่นน้ำของเด็กๆ การป้องกันตนเอง และไม่มีทักษะในการช่วยเหลือหรือเอาชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์ตกน้ำ จากการจมน้ำ ปลูกฝังให้เด็กรู้จักการ อย่าใกล้ อย่าเก็บ อย่าก้ม และรู้จักการตะโกน โยน ยื่น เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยให้เด็กมีชีวิตรอดเมื่อเกิดเหตุการณ์จริงได้
ดังนั้นศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาวิเศษ จึงได้จัดทำโครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน เพื่อปลูกจิตสำนึกและเปลี่ยนพฤติกรรมให้เด็กไทยสวมหมวกกันน็อกจนเป็นนิสัย เพื่อลดความเสี่ยงและความรุนแรงจากอุบัติเหตุทางถนนให้เหลือน้อยที่สุด โดยมุ่งเน้นดำเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่สำคัญคือ ให้ความรู้ความเข้าใจ ปลูกฝังจิตสำนึกความปลอดภัยให้เหมาะสมกับวัย เพื่อเป็นการสร้าง ภูมิคุ้มกันความเสี่ยงในการดำเนินชีวิตทั้งปัจจุบันและอนาคต ที่จะแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนได้อย่างตรงจุด คือ การให้ความรู้ควบคู่ไปกับความสนุกสนาน เกิดประสบการณ์จริง ซึ่งไม่เพียงแต่เด็กนักเรียนเท่านั้นที่จะได้รับความรู้ ผู้ปกครอง และครู ก็จะได้รับความรู้พร้อมกันไปด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ
- เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ ที่ได้จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไปปฏิบัติตามได้
- เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ
- เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ร่วมกันสวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง ที่นั่งซ้อนรถมอเตอร์ไซด์และการรู้จักวิธีการเอาตัวรอดกรณีติดอยู่ในรถยนต์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก ได้รับความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและ
อุบัติเหตุทางน้ำ
๒. เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนน และอุบัติเหตุทางน้ำ ที่ได้จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไปปฏิบัติตามได้
๓. เด็กนักเรียนรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อ
การตกน้ำ จมน้ำและร่วมกันสวมหมวกกันน็อคในการลดความรุนแรงจากการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน และรู้จักวิธีการเอาตัวรอดกรณีติดอยู่ในรถ
๔. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านเขาวิเศษ มีวัสดุ-อุปกรณ์ ในการจัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์ ให้ความรู้เรื่องการ ป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย การปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ ที่ได้จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไปปฏิบัติตามได้ ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ร่วมกันสวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง ที่นั่งซ้อนรถมอเตอร์ไซด์และการรู้จักวิธีการเอาตัวรอดกรณีติดอยู่ในรถยนต์ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก มีความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ (2) เพื่อให้เด็กนักเรียน ครู/ผู้ดูแลเด็ก สามารถนำความรู้ความเข้าใจด้านความปลอดภัยจากอุบัติเหตุบนท้องถนนและอุบัติเหตุทางน้ำ ที่ได้จากการเรียนรู้จากประสบการณ์จริงไปปฏิบัติตามได้ (3) เพื่อให้เด็กรู้จักวิธีป้องกันตนเองสามารถแก้ไขปัญหาเมื่อต้องพบกับเหตุการณ์จริงจากพื้นที่เสี่ยงต่อการตกน้ำ จมน้ำ (4) เพื่อให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรง ร่วมกันสวมหมวกกันน็อคทุกครั้ง ที่นั่งซ้อนรถมอเตอร์ไซด์และการรู้จักวิธีการเอาตัวรอดกรณีติดอยู่ในรถยนต์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการให้ความรู้เรื่องการป้องกันอุบัติเหตุจากการจมน้ำในเด็กปฐมวัย และการปฏิบัติให้ถูกกฎจราจรบนท้องถนน จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1516-03-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสุภาพร คุ้นเคย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......