โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายซานูซี หะยีมิน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่
เมษายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3028-2-04 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3028-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสังคมที่ได้เกิดขึ้นในปัจจุบัน สาเหตุหนึ่งเกิดมาจากครอบครัวที่มีปัญหา ปัญหาครอบครัวคือความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับสมาชิกภายในครอบครัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างสามีภรรยาผู้เป็นหัวหน้าหรือผู้นำครอบครัวที่เกิดมีปฏิสัมพันธ์ที่ขัดกัน ดังนั้น การแต่งงานเป็นจุดเริ่มต้นทีสำคัญของการกำเนิดชีวิตครอบครัว บุคคลส่วนใหญ่ตัดสินใจแต่งงานและคาดหวังว่าจะอยู่กับคู่ชีวิตได้ตลอดไป แต่ในชีวิตจริง ชีวิตคู่ของหลายคนมิได้เป็นเช่นนั้น ทั้งนี้เพราะแต่ละฝ่ายต่างมาจากครอบครัวที่แตกต่างกัน บางคู่อาจต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการใช้ชีวิตอยู่ ด้วยกันคนที่ประสบความสำเร็จในการใช้ชีวิตคู่นั้น ความสำคัญไม่ใช่อยู่ที่รักกันมากแค่ไหน แต่ขึ้นอยู่กับว่ามีการอยู่ร่วมกันอย่างไร มีวิธีการจัดการกับความขัดแย้งที่ดีหรือไม่ ตลอดจนมีการสื่อสารระหว่างกันอย่างไร ที่สำคัญมีความซื่อสัตย์ให้เกียรติ และอุทิศตนให้แก่กันเพียงใด หากคู่สมรสมีพื้นฐานความรู้ มีความพร้อมในภาวะต่างๆที่ดี ก็สามารถป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ ซึ่งศาสนาก็เป็นส่วนสำคัญ ในใช้ชีวิตร่วมกัน การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ถูกต้องจะมีผลดีต่อการใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน และเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว ซึ่งเป็นสถาบันพื้นฐานที่มีความสำคัญที่สุดในการสร้างสังคมให้มีคุณธรรม และคุณภาพต่อไป ประกอบกับปัจจุบันมีคู่สมรสเป็นจำนวนมากที่ก้าวเข้าสู่การใช้ชีวิตคู่โดยปราศจากการเตรียมความพร้อม ความรู้ที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อที่มาจากเพศสัมพันธ์หรือเตรียมตัวสำหรับการเปลี่ยนแปลงหรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการใช้ชีวิตคู่ เพราะหลังการแต่งงานคู่สมรสยังจำเป็นต้องเรียนรู้จักกัน (โดยเฉพาะในส่วนที่ยังไม่รู้จักกัน) และปรับตัวเข้าหากัน จึงอาจทำให้เกิดความตึงเครียดและความขัดแย้งในชีวิตสมรส และหากไม่รู้จักวิธีการจัดการกับสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสมก็อาจจะทำให้การพัฒนาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดสนิทสนมในชีวิตคู่อาจกลายเป็นเรื่องยุ่งยาก ยิ่งกว่านั้นในบางรายอาจจะลงเอยด้วยการหย่าร้างหรือการแยกกันอยู่ ซึ่งก่อให้ เกิดผลเสียต่อทุกฝ่าย ยิ่งหากมีบุตรด้วยกัน บุตรก็จะเป็นผู้รับปัญหาที่เขาเองไม่ได้ก่อขึ้น
ดังนั้น การเตรียมความพร้อมสำหรับการใช้ชีวิตคู่โดยการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญจึงเป็นเรื่องที่จำเป็นมาก เพราะในกระบวนการการเรียนรู้ดังกล่าวคู่สมรสจะมีโอกาสได้รับรู้ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นในการใช้ชีวิตคู่ และจะจัดการกับสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างไรเพื่อผลดีสำหรับการใช้ชีวิตคู่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนสามารถเตรียมความพร้อมในการมีชีวิตครอบครัว สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการสื่อสารที่ดี และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
- 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ของคู่สมรสให้เข้าใจตรงกันและแก้ไขความคิดผิด ๆ เกี่ยวกับการแต่งงาน และเรียนรู้สิ่งที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร
- ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ในการอบรมจำนวน 2 วัน รวม 4 มื้อ (30 x 4 x 80)
- ค่าอาหารกลางวัน/เครื่องดื่ม จำนวน 80 คน 2 วันๆละ 60 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร 10 ชั่วโมง
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม 80 ชุดๆละ 20 บาท
- ค่าหนังสือคู่มือสำหรับเข้ารับการฝึกอบรมพร้อมประกาศนียบัตร 80 ชุดๆละ 150 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เยาวชนมีความพร้อมในการมีชีวิตครอบครัว สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการสื่อสารที่ดี และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
2. เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ รู้จักการป้องกันโรคติดต่อและขจัดปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการใช้ชีวิตคู่ และมีความพร้อมสำหรับการใช้ชีวิตคู่ในทุก ๆ ด้าน (การพัฒนาความสัมพันธ์ การป้องกันโรค การปรับตัว การสื่อสาร การจัดการกับความขัดแย้ง และการเงิน เป็นต้น)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนสามารถเตรียมความพร้อมในการมีชีวิตครอบครัว สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการสื่อสารที่ดี และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
ตัวชี้วัด :
2
2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ของคู่สมรสให้เข้าใจตรงกันและแก้ไขความคิดผิด ๆ เกี่ยวกับการแต่งงาน และเรียนรู้สิ่งที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนสามารถเตรียมความพร้อมในการมีชีวิตครอบครัว สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการสื่อสารที่ดี และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว (2) 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ของคู่สมรสให้เข้าใจตรงกันและแก้ไขความคิดผิด ๆ เกี่ยวกับการแต่งงาน และเรียนรู้สิ่งที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร (2) ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ในการอบรมจำนวน 2 วัน รวม 4 มื้อ (30 x 4 x 80) (3) ค่าอาหารกลางวัน/เครื่องดื่ม จำนวน 80 คน 2 วันๆละ 60 บาท (4) ค่าสมนาคุณวิทยากร 10 ชั่วโมง (5) ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม 80 ชุดๆละ 20 บาท (6) ค่าหนังสือคู่มือสำหรับเข้ารับการฝึกอบรมพร้อมประกาศนียบัตร 80 ชุดๆละ 150 บาท (7) ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3028-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซานูซี หะยีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายซานูซี หะยีมิน
เมษายน 2568
ที่อยู่ ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3028-2-04 เลขที่ข้อตกลง 05/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองใหม่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3028-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 49,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองใหม่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาสังคมที่ได้เกิดขึ้นในปัจจุบัน สาเหตุหนึ่งเกิดมาจากครอบครัวที่มีปัญหา ปัญหาครอบครัวคือความขัดแย้งที่เกิดขึ้นกับสมาชิกภายในครอบครัวโดยเฉพาะอย่างยิ่งระหว่างสามีภรรยาผู้เป็นหัวหน้าหรือผู้นำครอบครัวที่เกิดมีปฏิสัมพันธ์ที่ขัดกัน ดังนั้น การแต่งงานเป็นจุดเริ่มต้นทีสำคัญของการกำเนิดชีวิตครอบครัว บุคคลส่วนใหญ่ตัดสินใจแต่งงานและคาดหวังว่าจะอยู่กับคู่ชีวิตได้ตลอดไป แต่ในชีวิตจริง ชีวิตคู่ของหลายคนมิได้เป็นเช่นนั้น ทั้งนี้เพราะแต่ละฝ่ายต่างมาจากครอบครัวที่แตกต่างกัน บางคู่อาจต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการใช้ชีวิตอยู่ ด้วยกันคนที่ประสบความสำเร็จในการใช้ชีวิตคู่นั้น ความสำคัญไม่ใช่อยู่ที่รักกันมากแค่ไหน แต่ขึ้นอยู่กับว่ามีการอยู่ร่วมกันอย่างไร มีวิธีการจัดการกับความขัดแย้งที่ดีหรือไม่ ตลอดจนมีการสื่อสารระหว่างกันอย่างไร ที่สำคัญมีความซื่อสัตย์ให้เกียรติ และอุทิศตนให้แก่กันเพียงใด หากคู่สมรสมีพื้นฐานความรู้ มีความพร้อมในภาวะต่างๆที่ดี ก็สามารถป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตได้ ซึ่งศาสนาก็เป็นส่วนสำคัญ ในใช้ชีวิตร่วมกัน การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ถูกต้องจะมีผลดีต่อการใช้ชีวิตคู่ร่วมกัน และเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัว ซึ่งเป็นสถาบันพื้นฐานที่มีความสำคัญที่สุดในการสร้างสังคมให้มีคุณธรรม และคุณภาพต่อไป ประกอบกับปัจจุบันมีคู่สมรสเป็นจำนวนมากที่ก้าวเข้าสู่การใช้ชีวิตคู่โดยปราศจากการเตรียมความพร้อม ความรู้ที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อที่มาจากเพศสัมพันธ์หรือเตรียมตัวสำหรับการเปลี่ยนแปลงหรือสิ่งที่จะเกิดขึ้นในการใช้ชีวิตคู่ เพราะหลังการแต่งงานคู่สมรสยังจำเป็นต้องเรียนรู้จักกัน (โดยเฉพาะในส่วนที่ยังไม่รู้จักกัน) และปรับตัวเข้าหากัน จึงอาจทำให้เกิดความตึงเครียดและความขัดแย้งในชีวิตสมรส และหากไม่รู้จักวิธีการจัดการกับสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างเหมาะสมก็อาจจะทำให้การพัฒนาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดสนิทสนมในชีวิตคู่อาจกลายเป็นเรื่องยุ่งยาก ยิ่งกว่านั้นในบางรายอาจจะลงเอยด้วยการหย่าร้างหรือการแยกกันอยู่ ซึ่งก่อให้ เกิดผลเสียต่อทุกฝ่าย ยิ่งหากมีบุตรด้วยกัน บุตรก็จะเป็นผู้รับปัญหาที่เขาเองไม่ได้ก่อขึ้น ดังนั้น การเตรียมความพร้อมสำหรับการใช้ชีวิตคู่โดยการเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญจึงเป็นเรื่องที่จำเป็นมาก เพราะในกระบวนการการเรียนรู้ดังกล่าวคู่สมรสจะมีโอกาสได้รับรู้ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้นในการใช้ชีวิตคู่ และจะจัดการกับสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างไรเพื่อผลดีสำหรับการใช้ชีวิตคู่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนสามารถเตรียมความพร้อมในการมีชีวิตครอบครัว สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการสื่อสารที่ดี และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว
- 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ของคู่สมรสให้เข้าใจตรงกันและแก้ไขความคิดผิด ๆ เกี่ยวกับการแต่งงาน และเรียนรู้สิ่งที่ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร
- ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ในการอบรมจำนวน 2 วัน รวม 4 มื้อ (30 x 4 x 80)
- ค่าอาหารกลางวัน/เครื่องดื่ม จำนวน 80 คน 2 วันๆละ 60 บาท
- ค่าสมนาคุณวิทยากร 10 ชั่วโมง
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม 80 ชุดๆละ 20 บาท
- ค่าหนังสือคู่มือสำหรับเข้ารับการฝึกอบรมพร้อมประกาศนียบัตร 80 ชุดๆละ 150 บาท
- ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เยาวชนมีความพร้อมในการมีชีวิตครอบครัว สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการสื่อสารที่ดี และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว 2. เยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ รู้จักการป้องกันโรคติดต่อและขจัดปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในการใช้ชีวิตคู่ และมีความพร้อมสำหรับการใช้ชีวิตคู่ในทุก ๆ ด้าน (การพัฒนาความสัมพันธ์ การป้องกันโรค การปรับตัว การสื่อสาร การจัดการกับความขัดแย้ง และการเงิน เป็นต้น)
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนสามารถเตรียมความพร้อมในการมีชีวิตครอบครัว สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการสื่อสารที่ดี และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ของคู่สมรสให้เข้าใจตรงกันและแก้ไขความคิดผิด ๆ เกี่ยวกับการแต่งงาน และเรียนรู้สิ่งที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อส่งเสริมให้เยาวชนสามารถเตรียมความพร้อมในการมีชีวิตครอบครัว สามารถทำบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม และส่งเสริมให้มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน มีการสื่อสารที่ดี และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีคุณภาพในครอบครัว (2) 2. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์และช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ของคู่สมรสให้เข้าใจตรงกันและแก้ไขความคิดผิด ๆ เกี่ยวกับการแต่งงาน และเรียนรู้สิ่งที่ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 เมตร (2) ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม ในการอบรมจำนวน 2 วัน รวม 4 มื้อ (30 x 4 x 80) (3) ค่าอาหารกลางวัน/เครื่องดื่ม จำนวน 80 คน 2 วันๆละ 60 บาท (4) ค่าสมนาคุณวิทยากร 10 ชั่วโมง (5) ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม 80 ชุดๆละ 20 บาท (6) ค่าหนังสือคู่มือสำหรับเข้ารับการฝึกอบรมพร้อมประกาศนียบัตร 80 ชุดๆละ 150 บาท (7) ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการจัดโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนแต่งงานและการวางแผนครอบครัว ตำบลคลองใหม่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3028-2-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซานูซี หะยีมิน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......