โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย ”
ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สนามชัย
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สนามชัย
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย
ที่อยู่ ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5244-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สนามชัย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5244-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สนามชัย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สนามชัย จัดทำขึ้นเพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ และร่วมค้นหาสาเหตุปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน และสามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ และรู้บทบาทของคณะบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้สามารถศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมกันวางแผนในการแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ
การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ได้ดำเนินการตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557โดยลักษณะของกิจกรรมที่จะของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ สามารถแยกได้เป็น 5 ประเภท ซึ่งประเภทที่ 4 เป็นงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน 20,000 บาท ต่อหน่วยสำหรับค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา ไม่เกินครั้งละ 400 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 800 บาท ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับอนุกรรมการไม่เกินครั้งละ 300 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 600 บาท และสำหรับคณะทำงานครั้งละไม่เกิน 200 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 400 บาท
ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย จึงจัดทำโครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย ประจำปี 2559 ขึ้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
- 2. คณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกัน
สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพได้ต่อไป
- 3. เพื่อร่วมพิจารณาโครงการที่กลุ่ม องค์กรต่างๆ นำเสนอเพื่อขอรับการอนุมัติงบประมาณ
- 4. แจ้งข้อมูลข่าวสารให้คณะกรรมการอนุกรรมการในเรื่องต่าง ๆ ได้รับทราบ
- 5. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุมในโอกาสต่างที่
หน่วยงานภายนอกจัดให้ความรู้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
25
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสนามชัยและคณะทำงานมีการบริหารงานกองทุนอย่างมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นและมีศักยภาพในการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนและคณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจสามารถ
เกิดการประสานงานความร่วมมือของเครือข่ายภาคีภาครัฐ ให้การสนับสนุนและผลักดันให้เกิดความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ทางด้านการดูแลป้องกันเรื่องสุขภาพ
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนมีเวทีร่วมกันพิจารณาโครงการที่นำเสนอ
แก่กลุ่มต่าง ๆ
- ประชาชนทั่วไปทราบถึงการเข้าร่วมกองทุน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการทำโครงการ
คณะกรรมการมีการประชุม ปรึกษาหารือ จำนวนทั้งสิ้น 4 ครั้งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการที่เสนอเข้ามายังกองทุนฯ และมีการติดตามผลการดำเนินงานขององค์กรหน่วยงาน กลุ่ม ชมรมต่าง ๆ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองทุนฯ เพื่อให้การดำเนินการต่าง ๆ เป็นไปตามที่ระเบียบกฎหมายกำหนด
รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ
เบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงินทั้งสิ้น 25,700 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
2
2. คณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกัน
สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพได้ต่อไป
ตัวชี้วัด :
3
3. เพื่อร่วมพิจารณาโครงการที่กลุ่ม องค์กรต่างๆ นำเสนอเพื่อขอรับการอนุมัติงบประมาณ
ตัวชี้วัด :
4
4. แจ้งข้อมูลข่าวสารให้คณะกรรมการอนุกรรมการในเรื่องต่าง ๆ ได้รับทราบ
ตัวชี้วัด :
5
5. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุมในโอกาสต่างที่
หน่วยงานภายนอกจัดให้ความรู้
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
25
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
25
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน
กองทุนหลักประกันสุขภาพ (2) 2. คณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกัน
สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพได้ต่อไป (3) 3. เพื่อร่วมพิจารณาโครงการที่กลุ่ม องค์กรต่างๆ นำเสนอเพื่อขอรับการอนุมัติงบประมาณ (4) 4. แจ้งข้อมูลข่าวสารให้คณะกรรมการอนุกรรมการในเรื่องต่าง ๆ ได้รับทราบ (5) 5. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุมในโอกาสต่างที่
หน่วยงานภายนอกจัดให้ความรู้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5244-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สนามชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย ”
ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สนามชัย
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5244-4-01 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สนามชัย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5244-4-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 42,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สนามชัย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โครงการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการบริหารกองทุน กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สนามชัย จัดทำขึ้นเพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจ และร่วมค้นหาสาเหตุปัญหาด้านสุขภาพในชุมชน และสามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ และรู้บทบาทของคณะบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้สามารถศึกษาแนวทางแก้ไขปัญหาและร่วมกันวางแผนในการแก้ไขปัญหาของกลุ่มได้อย่างเป็นระบบ การบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ได้ดำเนินการตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2557โดยลักษณะของกิจกรรมที่จะของบประมาณสนับสนุนจากกองทุนฯ สามารถแยกได้เป็น 5 ประเภท ซึ่งประเภทที่ 4 เป็นงบประมาณเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการหรือพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 15 ของเงินรายรับของกองทุนหลักประกันสุขภาพในแต่ละปีงบประมาณนั้น และในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้จ่ายเพื่อซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ครุภัณฑ์นั้นจะต้องมีราคาไม่เกิน 20,000 บาท ต่อหน่วยสำหรับค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษา ไม่เกินครั้งละ 400 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 800 บาท ค่าตอบแทนในการประชุมสำหรับอนุกรรมการไม่เกินครั้งละ 300 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 600 บาท และสำหรับคณะทำงานครั้งละไม่เกิน 200 บาทต่อคน เดือนหนึ่งไม่เกิน 400 บาท ดังนั้น กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย จึงจัดทำโครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย ประจำปี 2559 ขึ้น เพื่อให้การบริหารจัดการกองทุนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน กองทุนหลักประกันสุขภาพ
- 2. คณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกัน สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพได้ต่อไป
- 3. เพื่อร่วมพิจารณาโครงการที่กลุ่ม องค์กรต่างๆ นำเสนอเพื่อขอรับการอนุมัติงบประมาณ
- 4. แจ้งข้อมูลข่าวสารให้คณะกรรมการอนุกรรมการในเรื่องต่าง ๆ ได้รับทราบ
- 5. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุมในโอกาสต่างที่ หน่วยงานภายนอกจัดให้ความรู้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 25 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสนามชัยและคณะทำงานมีการบริหารงานกองทุนอย่างมีความรู้ความเข้าใจเพิ่มมากขึ้นและมีศักยภาพในการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพ
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนและคณะทำงานมีความรู้ความเข้าใจสามารถ เกิดการประสานงานความร่วมมือของเครือข่ายภาคีภาครัฐ ให้การสนับสนุนและผลักดันให้เกิดความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ทางด้านการดูแลป้องกันเรื่องสุขภาพ
- คณะกรรมการและอนุกรรมการกองทุนมีเวทีร่วมกันพิจารณาโครงการที่นำเสนอ
แก่กลุ่มต่าง ๆ
- ประชาชนทั่วไปทราบถึงการเข้าร่วมกองทุน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลการทำโครงการ คณะกรรมการมีการประชุม ปรึกษาหารือ จำนวนทั้งสิ้น 4 ครั้งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 เพื่อพิจารณาอนุมัติโครงการที่เสนอเข้ามายังกองทุนฯ และมีการติดตามผลการดำเนินงานขององค์กรหน่วยงาน กลุ่ม ชมรมต่าง ๆ ที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองทุนฯ เพื่อให้การดำเนินการต่าง ๆ เป็นไปตามที่ระเบียบกฎหมายกำหนด
รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ เบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุมคณะกรรมการกองทุนฯ และอนุกรรมการกองทุนฯ จำนวน 4 ครั้ง เป็นเงินทั้งสิ้น 25,700 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน
กองทุนหลักประกันสุขภาพ ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | 2. คณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกัน
สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพได้ต่อไป ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | 3. เพื่อร่วมพิจารณาโครงการที่กลุ่ม องค์กรต่างๆ นำเสนอเพื่อขอรับการอนุมัติงบประมาณ ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 4. แจ้งข้อมูลข่าวสารให้คณะกรรมการอนุกรรมการในเรื่องต่าง ๆ ได้รับทราบ ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | 5. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุมในโอกาสต่างที่
หน่วยงานภายนอกจัดให้ความรู้ ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 25 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | 25 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. คณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพได้รับความรู้ความเข้าใจในการบริหารงาน กองทุนหลักประกันสุขภาพ (2) 2. คณะกรรมการกองทุนและอนุกรรมการสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกัน สามารถนำมาเสนอจัดทำโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพเพื่อการดูแลสุขภาพได้ต่อไป (3) 3. เพื่อร่วมพิจารณาโครงการที่กลุ่ม องค์กรต่างๆ นำเสนอเพื่อขอรับการอนุมัติงบประมาณ (4) 4. แจ้งข้อมูลข่าวสารให้คณะกรรมการอนุกรรมการในเรื่องต่าง ๆ ได้รับทราบ (5) 5. เพื่อให้คณะกรรมการบริหารกองทุนฯ และอนุกรรมการ เข้าร่วมประชุมในโอกาสต่างที่ หน่วยงานภายนอกจัดให้ความรู้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบริหารและพัฒนากองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลสนามชัย จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L5244-4-01
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.สนามชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......