โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ”
ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรุจจิรา แสงทอง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
ที่อยู่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 006/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ส่งเสริมพัฒนาให้ผู้เรียนได้มีพฤติกรรมตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สามารถพัฒนานักเรียนให้มีสุขนิสัยที่ดีและมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ห่างไกลจากยาเสพติด ตลอดจนนักเรียนมีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุและปราศจากโรคที่สามารถป้องกันได้ ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งเน้นพัฒนาให้คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขได้นั้น ต้องมีพื้นฐานมาจากการมีสุขภาพดี แต่การเป็นอยู่ของนักเรียนโดยทั่วไป มีการดำรงชีวิตอย่างง่าย ๆ โดยไม่ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัย ตลอดจนการสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ เพื่อป้องกันโรคและพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพ โรงเรียนวัดบุพพนิมิตมีความต้องการให้นักเรียนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า และมีทักษะในการส่งเสริมสมรรถภาพ การส่งเสริมสุขภาพเป็นวิธีหนึ่งที่จะแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เพื่อให้เป็นคนที่มีร่างกายแข็งแรง จิตใจสมบูรณ์ มีสุขนิสัยที่ดี ซึ่งส่งผลถึงประสิทิภาพของการเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ
โรงเรียนวัดบุพนิมิตได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องของสุขภาพนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ทุกคนหันมาให้ความสำคัญและรู้จักปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพของตนเองตลอด ด้วยความสามารถควบคุมมูลเหตุปัจจัยและสภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีต่าง ๆ ในพื้นที่ เป็นทางเลือกที่สำคัญของการใช้สถานศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์กลางของการสร้างสุขภาพแก่เด็ก ครอบครัว และสมาชิกในชุมชน เพื่อช่วยให้ทุกคนมีสุขภาพดี สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการรักษา ความสะอาดในช่องปากและฟัน ดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ถูกวิธี และสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เพื่อให้บริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
- เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และสร้างความสามัคคีเป็นหมู่คณะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
- 1.ฟันสวยยิ้มใส 2.เด็กรุ่นใหม่รู้ทันโรคภัย 3.เด็กรุ่นใหม่รู้ทันเรื่องเพศ 4.เด็กรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
106
กลุ่มวัยทำงาน
12
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ด้านสุขภาพนักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
- มีบริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
- นักเรียนมีสุขภาพร่างการแข็งแรง และมีความสามัคคีเป็นหมู่คณะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการรักษา ความสะอาดในช่องปากและฟัน ดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ถูกวิธี และสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้และทักษะการดูแลรักษาฟัน ตลอดจนการแปรงฟันที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง และสามารถนำความรู้และทักษะไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 90
2
เพื่อให้บริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ครู นักเรียน และบุคลาการทุกคนได้รับบริการด้านสุขภาพเบื้องต้น ร้อยละ 90
3
เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และสร้างความสามัคคีเป็นหมู่คณะ
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 90 มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
118
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
106
กลุ่มวัยทำงาน
12
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการรักษา ความสะอาดในช่องปากและฟัน ดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ถูกวิธี และสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อให้บริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และสร้างความสามัคคีเป็นหมู่คณะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ (2) 1.ฟันสวยยิ้มใส 2.เด็กรุ่นใหม่รู้ทันโรคภัย 3.เด็กรุ่นใหม่รู้ทันเรื่องเพศ 4.เด็กรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางรุจจิรา แสงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน ”
ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางรุจจิรา แสงทอง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 006/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ลาน อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แม่ลาน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ส่งเสริมพัฒนาให้ผู้เรียนได้มีพฤติกรรมตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์ สามารถพัฒนานักเรียนให้มีสุขนิสัยที่ดีและมีสุขภาพที่แข็งแรงสมบูรณ์ห่างไกลจากยาเสพติด ตลอดจนนักเรียนมีความปลอดภัยจากอุบัติเหตุและปราศจากโรคที่สามารถป้องกันได้ ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งเน้นพัฒนาให้คนไทยเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี คนเก่ง และมีความสุขได้นั้น ต้องมีพื้นฐานมาจากการมีสุขภาพดี แต่การเป็นอยู่ของนักเรียนโดยทั่วไป มีการดำรงชีวิตอย่างง่าย ๆ โดยไม่ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพอนามัย ตลอดจนการสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ เพื่อป้องกันโรคและพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อสุขภาพ โรงเรียนวัดบุพพนิมิตมีความต้องการให้นักเรียนมีสุขภาพดีถ้วนหน้า และมีทักษะในการส่งเสริมสมรรถภาพ การส่งเสริมสุขภาพเป็นวิธีหนึ่งที่จะแก้ปัญหาสุขภาพของนักเรียน เพื่อให้เป็นคนที่มีร่างกายแข็งแรง จิตใจสมบูรณ์ มีสุขนิสัยที่ดี ซึ่งส่งผลถึงประสิทิภาพของการเรียนรู้ได้อย่างเต็มศักยภาพ โรงเรียนวัดบุพนิมิตได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องของสุขภาพนักเรียน จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพขึ้น เพื่อส่งเสริมให้ทุกคนหันมาให้ความสำคัญและรู้จักปฏิบัติตนในการดูแลสุขภาพของตนเองตลอด ด้วยความสามารถควบคุมมูลเหตุปัจจัยและสภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคีต่าง ๆ ในพื้นที่ เป็นทางเลือกที่สำคัญของการใช้สถานศึกษาเป็นจุดเริ่มต้นและศูนย์กลางของการสร้างสุขภาพแก่เด็ก ครอบครัว และสมาชิกในชุมชน เพื่อช่วยให้ทุกคนมีสุขภาพดี สามารถดำเนินชีวิตได้อย่างมีความสุขและมีคุณภาพชีวิตที่ดี
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการรักษา ความสะอาดในช่องปากและฟัน ดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ถูกวิธี และสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
- เพื่อให้บริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
- เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และสร้างความสามัคคีเป็นหมู่คณะ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมเชิงปฏิบัติการ
- 1.ฟันสวยยิ้มใส 2.เด็กรุ่นใหม่รู้ทันโรคภัย 3.เด็กรุ่นใหม่รู้ทันเรื่องเพศ 4.เด็กรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 106 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 12 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- นักเรียนมีความรู้ด้านสุขภาพนักเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู้ และสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
- มีบริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน
- นักเรียนมีสุขภาพร่างการแข็งแรง และมีความสามัคคีเป็นหมู่คณะ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการรักษา ความสะอาดในช่องปากและฟัน ดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ถูกวิธี และสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้และทักษะการดูแลรักษาฟัน ตลอดจนการแปรงฟันที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากตนเอง และสามารถนำความรู้และทักษะไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 90 |
|
|||
2 | เพื่อให้บริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน ตัวชี้วัด : ครู นักเรียน และบุคลาการทุกคนได้รับบริการด้านสุขภาพเบื้องต้น ร้อยละ 90 |
|
|||
3 | เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และสร้างความสามัคคีเป็นหมู่คณะ ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ 90 มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่ดี ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 118 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 106 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 12 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในการรักษา ความสะอาดในช่องปากและฟัน ดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้อง ถูกวิธี และสามารถนำความรู้ที่ได้รับมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ (2) เพื่อให้บริการด้านสุขภาพเบื้องต้นแก่นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียน (3) เพื่อให้นักเรียนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และสร้างความสามัคคีเป็นหมู่คณะ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ (2) 1.ฟันสวยยิ้มใส 2.เด็กรุ่นใหม่รู้ทันโรคภัย 3.เด็กรุ่นใหม่รู้ทันเรื่องเพศ 4.เด็กรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียนโรงเรียนวัดบุพนิมิต สู่มหัศจรรย์ 1,000 วัน Plus สู่ 2,500 วัน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางรุจจิรา แสงทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......