โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 ”
เทศบาลตำบลพะตง
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลพะตง โดย นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำบลพะตง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ เทศบาลตำบลพะตง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L7890-08-001 เลขที่ข้อตกลง 1
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลตำบลพะตง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลตำบลพะตง รหัสโครงการ 68-L7890-08-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,731.19 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีระบบสาธารณสุขที่ให้การรักษาฟรีจริง แต่สำหรับคนทุพพลภาพ อันประกอบด้วย ๑) ผู้ป่วย ๒) คนพิการ ๓) ผู้สูงอายุ การเดินทางไปสถานพยาบาลตามแพทย์นัดนั้นมีต้นทุนในด้านค่าขนส่งถึง ๑,๕๐๐ - ๒,๕๐๐ บาทต่อเที่ยว ส่งผลให้ผู้ป่วยที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ไม่สามารถเข้าถึงบริการรถขนส่งผู้ป่วยไปสถานพยาบาลได้ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของประชาชน ปัญหานี้อาจส่งผลให้คนที่มีความจำเป็น ต้องไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลไม่สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทันเวลาและมีคุณภาพ เพราะขาดทุนทรัพย์ในการเดินทางด้วยรถขนส่งผู้ป่วย จนสุดท้ายต้องนอนทนความเจ็บป่วยอยู่ที่บ้าน หรือไม่สามารถเข้ารับการรักษาได้ตามอาการจนนำไปสู่การสูญเสียในที่สุด
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๖๗ ฉบับที่ ๒ ประกอบกับประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๗ ข้อ ๔ ค่าใช้จ่ายสำหรับบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพให้จ่ายสำหรับให้บริการบุคคล ๓ ประเภท ดังนี้
๑. คนพิการ ได้แก่ บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน การดำรงชีวิตหรือการทำกิจกรรมทางสังคม เนื่องจากความบกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจอารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด และมีความจำเป็นพิเศษที่ต้องได้รับความช่วยเหลือด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างปกติ
๒. ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ที่มีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือโดยไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ในการทำกิจวัตรประจำวัน หรือมีปัญหาสุขภาพเรื้อรังที่ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่อง หรือมีภาวะทุพพลภาพทางร่างกายหรือจิตใจ และขาดผู้ดูแลหรือญาติพี่น้องที่สามารถให้การช่วยเหลือได้
๓. ผู้ที่มีความยากลำบากในการเข้าไปรับบริการสาธารณสุขด้วยตนเอง ได้แก่ บุคคลที่มีข้อจำกัดทางร่างกาย มีปัญหาสุขภาพจิต มีโรคเรื้อรังที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวหรือการเดินทาง หรือบุคคลที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลหรือทุรกันดาร หรือเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะได้ยาก หรือบุคคลที่มีฐานะยากจน ไม่สามารถจ่ายค่าเดินทางไปสถานพยาบาลได้ ขาดผู้ดูแลหรือญาติที่สามารถพาไปรับบริการทางการแพทย์ มีอุปสรรคด้านการสื่อสารที่ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ด้วยตนเอง หรือบุคคลที่ต้องการการดูแลพิเศษระหว่างเดินทาง หรือมีความกลัวหรือวิตกกังวลอย่างรุนแรงเกี่ยวกับ การออกนอกบ้านหรือเพื่อเข้ารับบริการทางการแพทย์
เทศบาลตำบลพะตง จึงได้จัดโครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการรับ - ส่ง ผู้ป่วยเพื่อไปสถานพยาบาลได้ เพื่อให้ผู้ป่วยได้เข้ารับการรักษาตามที่แพทย์นัดหมาย สร้างโอกาสให้ได้กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติ ซึ่งจะยังผลไปยังญาติผู้ดูแลในการลดภาระค่าใช้จ่าย ให้สามารถกลับไปทำงานเพื่อหาเลี้ยงชีพและดูแลครอบครัวต่อไปได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มผู้ทุพพลภาพให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ และด้านอื่น
- ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ทุพพลภาพ เพื่อ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข
- ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ - ส่ง ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ และด้านอื่น
- ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ทุพพลภาพ เพื่อ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เกิดเครือข่ายรถรับ - ส่ง คนทุพพลภาพในชุมชน
๒. ผู้ทุพพลภาพสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขในพื้นที่ หรือที่จำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มผู้ทุพพลภาพให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ทุพพลภาพสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ครบถ้วน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มผู้ทุพพลภาพให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ และด้านอื่น (2) ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ทุพพลภาพ เพื่อ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข (3) ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ - ส่ง ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ และด้านอื่น (4) ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ทุพพลภาพ เพื่อ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L7890-08-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลพะตง โดย นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 ”
เทศบาลตำบลพะตง
หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลพะตง โดย นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำบลพะตง
กันยายน 2568
ที่อยู่ เทศบาลตำบลพะตง จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L7890-08-001 เลขที่ข้อตกลง 1
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 17 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน เทศบาลตำบลพะตง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ เทศบาลตำบลพะตง รหัสโครงการ 68-L7890-08-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 17 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,731.19 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลพะตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ประเทศไทยมีระบบสาธารณสุขที่ให้การรักษาฟรีจริง แต่สำหรับคนทุพพลภาพ อันประกอบด้วย ๑) ผู้ป่วย ๒) คนพิการ ๓) ผู้สูงอายุ การเดินทางไปสถานพยาบาลตามแพทย์นัดนั้นมีต้นทุนในด้านค่าขนส่งถึง ๑,๕๐๐ - ๒,๕๐๐ บาทต่อเที่ยว ส่งผลให้ผู้ป่วยที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ไม่สามารถเข้าถึงบริการรถขนส่งผู้ป่วยไปสถานพยาบาลได้ เป็นปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพของประชาชน ปัญหานี้อาจส่งผลให้คนที่มีความจำเป็น ต้องไปรับการรักษาที่สถานพยาบาลไม่สามารถเข้าถึงบริการได้อย่างทันเวลาและมีคุณภาพ เพราะขาดทุนทรัพย์ในการเดินทางด้วยรถขนส่งผู้ป่วย จนสุดท้ายต้องนอนทนความเจ็บป่วยอยู่ที่บ้าน หรือไม่สามารถเข้ารับการรักษาได้ตามอาการจนนำไปสู่การสูญเสียในที่สุด
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. ๒๕๖๗ ฉบับที่ ๒ ประกอบกับประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ในการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๖๗ ข้อ ๔ ค่าใช้จ่ายสำหรับบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพให้จ่ายสำหรับให้บริการบุคคล ๓ ประเภท ดังนี้
๑. คนพิการ ได้แก่ บุคคลซึ่งมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน การดำรงชีวิตหรือการทำกิจกรรมทางสังคม เนื่องจากความบกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจอารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด และมีความจำเป็นพิเศษที่ต้องได้รับความช่วยเหลือด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างปกติ
๒. ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ ๖๐ ปีขึ้นไป ที่มีความจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือโดยไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ในการทำกิจวัตรประจำวัน หรือมีปัญหาสุขภาพเรื้อรังที่ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่อง หรือมีภาวะทุพพลภาพทางร่างกายหรือจิตใจ และขาดผู้ดูแลหรือญาติพี่น้องที่สามารถให้การช่วยเหลือได้
๓. ผู้ที่มีความยากลำบากในการเข้าไปรับบริการสาธารณสุขด้วยตนเอง ได้แก่ บุคคลที่มีข้อจำกัดทางร่างกาย มีปัญหาสุขภาพจิต มีโรคเรื้อรังที่ส่งผลต่อการเคลื่อนไหวหรือการเดินทาง หรือบุคคลที่อยู่ในพื้นที่ห่างไกลหรือทุรกันดาร หรือเข้าถึงระบบขนส่งสาธารณะได้ยาก หรือบุคคลที่มีฐานะยากจน ไม่สามารถจ่ายค่าเดินทางไปสถานพยาบาลได้ ขาดผู้ดูแลหรือญาติที่สามารถพาไปรับบริการทางการแพทย์ มีอุปสรรคด้านการสื่อสารที่ทำให้ไม่สามารถเข้าถึงบริการได้ด้วยตนเอง หรือบุคคลที่ต้องการการดูแลพิเศษระหว่างเดินทาง หรือมีความกลัวหรือวิตกกังวลอย่างรุนแรงเกี่ยวกับ การออกนอกบ้านหรือเพื่อเข้ารับบริการทางการแพทย์
เทศบาลตำบลพะตง จึงได้จัดโครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ ๒๕๖๘ เพื่อช่วยเหลือประชาชนที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการรับ - ส่ง ผู้ป่วยเพื่อไปสถานพยาบาลได้ เพื่อให้ผู้ป่วยได้เข้ารับการรักษาตามที่แพทย์นัดหมาย สร้างโอกาสให้ได้กลับมาใช้ชีวิตได้อย่างปกติ ซึ่งจะยังผลไปยังญาติผู้ดูแลในการลดภาระค่าใช้จ่าย ให้สามารถกลับไปทำงานเพื่อหาเลี้ยงชีพและดูแลครอบครัวต่อไปได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มผู้ทุพพลภาพให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ และด้านอื่น
- ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ทุพพลภาพ เพื่อ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข
- ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ - ส่ง ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ และด้านอื่น
- ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ทุพพลภาพ เพื่อ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เกิดเครือข่ายรถรับ - ส่ง คนทุพพลภาพในชุมชน ๒. ผู้ทุพพลภาพสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขในพื้นที่ หรือที่จำเป็น
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มผู้ทุพพลภาพให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้ทุพพลภาพสามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้ครบถ้วน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 0 | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มผู้ทุพพลภาพให้สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ-ส่ง ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ และด้านอื่น (2) ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ทุพพลภาพ เพื่อ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข (3) ขึ้นทะเบียนเครือข่าย รถรับ - ส่ง ผู้พิการ ทุพพลภาพ ผู้สูงอายุ และด้านอื่น (4) ให้บริการรับ - ส่ง ผู้ทุพพลภาพ เพื่อ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการพาหนะรับส่งผู้ทุพพลภาพเพื่อเข้ารับบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L7890-08-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลตำบลพะตง โดย นายชัยณรงค์ ศรประสิทธิ์ ตำแหน่ง นายกเทศมนตรีตำบลพะตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......