กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายมะดาโอ๊ะ ตาเล๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2542-2568-03-02 เลขที่ข้อตกลง 2568/02

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสากอ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2542-2568-03-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,190.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สากอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุเป็นประชากรที่ดำรงชีวิตในยุคของการเปลี่ยนแปลงจากการคาดการณ์ในปี พ.ศ.2568 จำนวนผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น แนวโน้มของประชากรผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นส่งผลด้านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศตามมาเนื่องจากผู้สูงอายุมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยเฉพาะโรคเรื้อรังทำให้เกิดภาวะทุพพลภาพ ต้องการความช่วยเหลือจากผู้ดูแล การบริการด้านสุขภาพและสังคมเพิ่มมากขึ้น หรืออาจกล่าวได้ว่า ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องเป้าหมายในการดูแลดังกล่าว คือ กลุ่มติดบ้าน มุ่งเน้นการดำรงสุขภาพที่ดี ป้องกันภาวะแทรกซ้อน กลุ่มติดเตียง ดำรงไว้ซึ่งสุขภาพที่เป็นอยู่ ป้องกันภาวะแทรกซ้อนและเกิดทุพพลภาพ ไม่เสียชีวิตก่อนวัยอันควร ดังนั้น การดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่อง ต้องอาศัยกลยุทธ์การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายประกอบด้วย ภาคีบริการสุขภาพ ภาคบริการสังคม ภาคีบริการท้องถิ่น และภาคีบริการชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพของผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดตียง ให้มีขีดความสามรถที่จะพึ่งพาตนเอง โดยอาศัยการดูแลแบบเยี่ยมบ้าน ให้การช่วยเหลือเบื้องต้น ติดตามเฝ้าระวัง ให้คำปรึกษาเฉพาะสำหรับผู้สูงอายุอายุติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง และผู้ดูแลผู้ป่วยดังกล่าวอีกทั้งยังใช้นวัตกรรมยางยืด ช่วยเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งผลให้ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันและความสามารถในการทำหน้าที่ของร่างกายเพิ่มขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลสูงอายุติดบ้าน และผู้ป่วยติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนสามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
  2. ข้อที่ 2 เพื่อให้บริการส่งเสริมสุขพภาพเชิงรุกแก่ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง
  3. ข้อที่ 3 เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้สูงอายุติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแล มีทัศนคติที่ดีต่อตนเองในการดูแลสุขภาพ
  4. ข้อที่ 4 เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังเล็งเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยจะมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกวิธีตามหลักโภชนาการ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
  2. 2.กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยมีการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้กับผู้ป่วย และนำนวัตกรรมที่ออกแบบไปใช้ในกลุ่มดังกล่าว
  3. 3. ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียงและผู้ป่วยติดบ้านอีกครั้ง (ครั้งที่ 2) เพื่อติดตามสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนและประเมินผลเป็นระยะๆ
  4. 4. ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียงและผู้ป่วยติดบ้านอีกครั้ง (ครั้งที่3) เพื่อติดตามสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนและประเมินผลเป็นระยะๆ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ดูแลสูงอายุติดบ้าน และผู้ป่วยติดเตียงมีความรู้ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนสามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า 2.ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก 3.ผู้สูงอายุติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง และผู้ดูแล มีทัศนคติที่ดีต่อตนเองในการดูแลสุขภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยจะมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกวิธีตามหลักโภชนาการ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. .ค่าตอบแทนวิทยากรทางด้านสาธารณสุขให้ความรู้ (จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท)
    เป็นเงิน 3,6๐๐ บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท/คน 1 มื้อ จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท
    4.ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 x 300 จำนวน 1 ผืน
    เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและเข้าถึงระบบสุขภาพเชิงรุก สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

0 0

2. 3. ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียงและผู้ป่วยติดบ้านอีกครั้ง (ครั้งที่ 2) เพื่อติดตามสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนและประเมินผลเป็นระยะๆ

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ค่าจัดซื้ออุปกรณ์การดูแลสุขภาพและของใช้ที่จำเป็นแก่กลุ่มเป้าหมาย เช่น ยาสีฟัน สบู่อาบน้ำ จำนวน 50 คน
    -  ยาสีฟัน จำนวน 50 หลอด หลอดละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท

    - แปรงสีฟัน จำนวน 50 หลอด หลอดละ 20บาท
เป็นเงิน 1,000 บาท
    - ส บู่อาบน้ำ จำนวน 100 ก้อน ก้อนละ 10 บาท
เป็นเงิน 1,000  บาท
    - แป้งเย็น จำนวน 50 ขวด ขวดละ 35 บาท เป็นเงิน 1,750 บาท
    -ยาสระผม จำนวน 50 ขวด ขวดละ 29 บาท เป็นเงิน 1,450 บาท     - สำลีแผ่น 50 ถุง ถุงละ 33 บาท
เป็นเงิน 1,650บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียงและผู้ป่วยติดบ้านอีกครั้ง (ครั้งที่ 2) เป็นการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนและประเมินผลเป็นระยะๆ

 

0 0

3. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยจะมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกวิธีตามหลักโภชนาการ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. .ค่าตอบแทนวิทยากรทางด้านสาธารณสุขให้ความรู้ (จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท)
    เป็นเงิน 3,6๐๐ บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท/คน 1 มื้อ จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท
    4.ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 x 300 จำนวน 1 ผืน
    เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและเข้าถึงระบบสุขภาพเชิงรุก สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

0 0

4. 4. ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียงและผู้ป่วยติดบ้านอีกครั้ง (ครั้งที่3) เพื่อติดตามสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนและประเมินผลเป็นระยะๆ

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ไม่มีค่าใช้จ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียงและผู้ป่วยติดบ้านอีกครั้ง (ครั้งที่3) เป็นการติดตามสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนและประเมินผลเป็นระยะๆ

 

0 0

5. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยจะมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกวิธีตามหลักโภชนาการ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. .ค่าตอบแทนวิทยากรทางด้านสาธารณสุขให้ความรู้ (จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท)
    เป็นเงิน 3,6๐๐ บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท/คน 1 มื้อ จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท
    4.ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 x 300 จำนวน 1 ผืน
    เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและเข้าถึงระบบสุขภาพเชิงรุก สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

0 0

6. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยจะมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกวิธีตามหลักโภชนาการ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. .ค่าตอบแทนวิทยากรทางด้านสาธารณสุขให้ความรู้ (จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท)
    เป็นเงิน 3,6๐๐ บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท/คน 1 มื้อ จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท
    4.ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 x 300 จำนวน 1 ผืน
    เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและเข้าถึงระบบสุขภาพเชิงรุก สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

0 0

7. 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยจะมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกวิธีตามหลักโภชนาการ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. .ค่าตอบแทนวิทยากรทางด้านสาธารณสุขให้ความรู้ (จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ ๖๐๐ บาท)
    เป็นเงิน 3,6๐๐ บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน 50 บาท/คน 1 มื้อ จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 2 มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน 51 คน (โดยมีวิทยากรให้ความรู้ จำนวน 1 คน และผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 50 คน) เป็นเงิน 2,550 บาท
    4.ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1 x 3 x 300 จำนวน 1 ผืน
    เป็นเงิน 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้านต่างๆ ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงได้รับการติดตามเยี่ยมบ้านและเข้าถึงระบบสุขภาพเชิงรุก สร้างขวัญและกำลังใจให้ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงมีทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพให้แข็งแรงเพื่อดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า

 

0 0

8. 2.กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยมีการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้กับผู้ป่วย และนำนวัตกรรมที่ออกแบบไปใช้ในกลุ่มดังกล่าว

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดซื้ออาหารเสริมบำรุงสุขภาพสำหรับกลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม จำนวน 50 คน x 300 บาท
เป็นเงิน 15,000 บาท
2.ค่าจัดซื้ออุปกรณ์การดูแลและของใช้ที่จำเป็นแก่กลุ่มเป้าหมายที่ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ เช่น ผ้าอ้อมสำเร็จรูป จำนวน 10 คน x 200 บาท
เป็นเงิน 2,000 บาท   - ยางยืด (ยางวง) จำนวน 13 กก. X กก.ละ 130 บาท  เป็นเงิน 1,690 บาท
  - ท่อพีวีซี ขนาด 3 x4 ซม. ยาว 4 เมตร จำนวน 5  แท่ง  แท่งละ 60 บาท เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การลงพื้นที่เยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงเป็นการให้ขวัญกำลังใจให้กับผู้ป่วย และนำนวัตกรรมที่ออกแบบไปใช้ได้จริง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลสูงอายุติดบ้าน และผู้ป่วยติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนสามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 1 ผู้ดูแลผู้สูงอายุที่เป็นผู้ป่วยติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทางด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ ร้อยละ 70
70.00 80.00 80.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อให้บริการส่งเสริมสุขพภาพเชิงรุกแก่ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 2 ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงได้รับบริการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุกร้อยละ 100
80.00 100.00 100.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้สูงอายุติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแล มีทัศนคติที่ดีต่อตนเองในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 3 สร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้สูงอายุติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียง และผู้ดูแล มีทัศนคติที่ดีต่อตนเองในการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 70
70.00 80.00 80.00

 

4 ข้อที่ 4 เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังเล็งเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ข้อที่ 4 สร้างจิตสำนึกที่ดีและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังเล็งเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ ร้อยละ 70
70.00 80.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ผู้ดูแลสูงอายุติดบ้าน และผู้ป่วยติดเตียง  มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัยของตนเอง ทั้งด้านโภชนาการ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ตลอดจนสามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า (2) ข้อที่ 2 เพื่อให้บริการส่งเสริมสุขพภาพเชิงรุกแก่ผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง (3) ข้อที่ 3 เพื่อสร้างขวัญกำลังใจแก่ผู้สูงอายุติดบ้าน ผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแล มีทัศนคติที่ดีต่อตนเองในการดูแลสุขภาพ (4) ข้อที่ 4 เพื่อสร้างจิตสำนึกที่ดีและปลูกฝังให้คนรุ่นหลังเล็งเห็นคุณค่าของผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยจะมีการให้ความรู้เกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ถูกวิธีตามหลักโภชนาการ และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายจิตใจเพื่อให้สามารถดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่า (2) 2.กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง โดยมีการลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อเป็นขวัญกำลังใจให้กับผู้ป่วย และนำนวัตกรรมที่ออกแบบไปใช้ในกลุ่มดังกล่าว (3) 3. ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียงและผู้ป่วยติดบ้านอีกครั้ง (ครั้งที่ 2) เพื่อติดตามสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนและประเมินผลเป็นระยะๆ (4) 4. ลงเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดเตียงและผู้ป่วยติดบ้านอีกครั้ง (ครั้งที่3) เพื่อติดตามสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนและประเมินผลเป็นระยะๆ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2542-2568-03-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะดาโอ๊ะ ตาเล๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด