กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมัยยิต(ศพ)ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชนหมู่ที่3บ้านทุ่งดินลุ่ม

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมัยยิต(ศพ)ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชนหมู่ที่3บ้านทุ่งดินลุ่ม ”
ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นายพีระ เหมทอง




ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมัยยิต(ศพ)ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชนหมู่ที่3บ้านทุ่งดินลุ่ม

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5295-02-06 เลขที่ข้อตกลง 16/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 เมษายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมัยยิต(ศพ)ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชนหมู่ที่3บ้านทุ่งดินลุ่ม จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมัยยิต(ศพ)ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชนหมู่ที่3บ้านทุ่งดินลุ่ม



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมัยยิต(ศพ)ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชนหมู่ที่3บ้านทุ่งดินลุ่ม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5295-02-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 เมษายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อิสลาม เป็นศาสนาหนึ่งที่สอนให้มนุษย์ตระหนักถึงความตายเสมอ คัมภีร์อัลกุรอานได้ย้ำถึง สัจธรรมข้อนี้ว่า “ทุกชีวิตต้องลิ้มรสแห่งความตาย” (อัลกุรอานบทที่ 21 วรรคที่ 35 และอัลกุรอานบทที่ 3 วรรคที่ 185) (Arab Universities Alumni Association, Thailand, 1997) ในทัศนะของศาสนาอิสลาม ความตาย คือ การกลับไปสู่ความเมตตาของอัลลอฮฺ (ซ.บ.) หรือพระผู้เป็นเจ้า มิใช่เป็นการดับสูญหรือการ สูญเสียหรือการหมดเคราะห์กรรมแต่อย่างใด อิสลามปฏิเสธการเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏ และปฏิเสธ ความเชื่อเรื่องชาติภพ ความตายในทัศนะอิสลามเป็นการเคลื่อนย้ายสถานที่จากโลกหนึ่งไปสู่อีกโลกหนึ่ง และถือว่าเนื้อแท้ของมนุษย์มิใช่เรือนร่างอันเป็นวัตถุ แต่เป็นวิญญาณ ที่เรียกว่า “รูห์” ซึ่งยังคงสภาพอยู่ และเตรียมพร้อมสำหรับการเคลื่อนย้ายไปสู่ชีวิตใหม่ในโลกหน้า เมื่อผ่านพ้นจาก โลกนี้ไปแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนจบสิ้นมีเพียงวิญญาณและการงานของมนุษย์เท่านั้นที่จะยังคงอยู่เพื่อรอ รับการพิพากษาจากพระผู้เป็นเจ้าในโลกหน้า อิสลามกล่าวถึงโลกนี้ว่า เป็นสถานที่พำนักชั่วคราว เป็นสิ่งที่ ไม่นิรันดร์ ความตายของมนุษย์นั้นเป็นไปตามกำหนดอายุขัยบนโลกนี้ที่ถูกกำหนดแล้ว ในขณะเดียวกันก็ เป็นการเริ่มต้นของชีวิตในโลกหน้าอันเป็นโลก  นิรันดร์ ดังนั้นเมื่อ มีการตายเกิดขึ้น จึงเป็นหน้าที่ของมุสลิมทุกคนที่จะต้องสำนึกและตระหนักว่าทุกสิ่งที่เกิดขึ้นเป็นไปตามการลิขิตของอัลลอฮฺ (ซ.บ.)
    เมื่อมีการเสียชีวิตเกิดขึ้นกับคนในชุมชนสิ่งที่จำเป็นสำหรับผู้มีชีวิตอยู่นั้นคือ การจัดการศพไม่ว่าจะเป็นการอาบน้ำหรือทำความสะอาด หรือชำระสิ่งสกปรกต่างๆที่ติดมากับศพเป็นต้น การจัดการศพให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ จึงมีความจำเป็น อย่างยิ่ง เพราะหากผู้จัดการศพไม่มีความรู้ในการจัดการศพให้ถูกต้อง ถูกวิธีนั้น อาจนำไปสู่การติดเชื้อต่างๆหรือเป็นโรคตามมาก็เป็นได้ เพราะว่าศพนั้นอาจมีเชื้อโรค หรือมีโรคในร่างกายศพ เมื่อผู้จัดการศพไม่มีความรู้ขาดความรู้ในการจัดการศพให้ถูกต้องตามสุขลักษณะนั้น อาจทำให้ผู้จัดการศพติดเชื้อจากศพได้ จากเหตุการณ์ปัจจุบันคนจัดการศพของคนมุสลิมมีจำนวนน้อยมากที่ทำเป็น ถูกต้อง ถูกวิธี อาจทำให้ในอนาคตจะไม่มีคนทำเป็น และสิ่งสำคัญคือถูกต้องตามสุขลักษณะ
      ดังนั้น หมู่ที่ 3 บ้านทุ่งดินลุ่ม จึงได้จัดโครงการ “โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมายัต(ศพ) ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะในชุมชนหมู่ที่ 3 บ้านทุ่งดินลุ่ม” ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ การห่อศพ การจัดการศพที่ถูกต้องตามสุขลักษณะ ตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
  2. เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพตามหลักสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดการศพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. อบรมให้ความรู้
  3. อบรมให้ความรู้
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการ สาธิต

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทำให้ญาติหรือผู้ที่ทำหน้าที่ในการจัดการศพในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ การห่อศพ การจัดการศพที่ถูกต้องตามหลักศาสนาอิสลาม
    2.ทำให้ญาติหรือผู้ที่ทำหน้าที่ในการจัดการศพในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพ ตามหลักสุขลักษณะสามารถป้องกันการแพร่เชื้อที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดการศพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ การห่อศพ การจัดการศพที่ถูกต้องตามสุขลักษณะ ตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง
ตัวชี้วัด : ที่ทำหน้าที่จัดการศพในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ การห่อศพ การจัดการศพที่ถูกต้องตามสุขลักษณะ ตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง ร้อยละ 80
80.00

 

2 เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพตามหลักสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดการศพ
ตัวชี้วัด : .ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพตามหลักสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดการศพ ร้อยละ 80
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการอาบน้ำศพ การห่อศพ การจัดการศพที่ถูกต้องตามสุขลักษณะ ตามหลักศาสนาอิสลาม และได้รับการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง (2) เพื่อให้ผู้ที่ทำหน้าที่จัดการศพในชุมชน มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการป้องกันโรคติดต่อในการจัดการศพตามหลักสุขลักษณะ เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อที่อาจเกิดขึ้นจากการจัดการศพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการ (2) อบรมให้ความรู้ (3) อบรมให้ความรู้ (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ สาธิต

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การอาบน้ำมัยยิต(ศพ)ตามหลักศาสนาและตามหลักสุขลักษณะเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อในชุมชนหมู่ที่3บ้านทุ่งดินลุ่ม จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 68-L5295-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายพีระ เหมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด