กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา
รหัสโครงการ 68 – L8287 – 2 - 5
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเทพา
วันที่อนุมัติ 18 กุมภาพันธ์ 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 ตุลาคม 2568
งบประมาณ 11,900.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายหมัดอุเส็น สามารถ
พี่เลี้ยงโครงการ คลินิกเวช ศูนย์1
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเทพา อำเภอเทพา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 6.82,100.94place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนอนามัยและสิ่งแวดล้อม
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 ต.ค. 2567 30 ก.ย. 2568 11,900.00
รวมงบประมาณ 11,900.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มวัยทำงาน 160 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันประชาชนมีความเสี่ยงที่จะเป็นโรคติดต่อมากขึ้นเนื่องจากสภาพสังคมได้เปลี่ยนแปลงจากอดีตไปมาก  สภาพบ้านเรือนที่เพิ่มขึ้นและอยู่กันอย่างหนาแน่น ประชาชนมีการเดินทางติดต่อไปมาหาสู่กันได้สะดวกและรวดเร็ว สภาพแวดล้อมที่เสื่อมเสียเพิ่มขึ้น รวมถึงสภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ล้วนเป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเกิดโรคติดต่อเพิ่มมากขึ้น และเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดไปในวงกว้างจนอาจไม่สามารถควบคุมได้ แต่หากได้มีการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคที่มีประสิทธิภาพก็สามารถลดอุบัติการณ์ของโรค และสามารถควบคุมไม่ให้เกิดการระบาด ในวงกว้างได้
    ตำบลเทพา เป็นอีกพื้นที่หนึ่งที่มีปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัดใหญ่ ในปี 2567        พบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 35 ราย อัตราป่วย 285.60 ต่อประชากรแสนคน ไม่พบผู้เสียชีวิต และโรคหัด จำนวน 11 ราย อัตราป่วย 89.76 ต่อประชากรแสนคน ผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นเด็ก 0-14 ปี เริ่มป่วยในเดือน มกราคม – กันยายน ซึ่งตรงกับช่วงของการเปิดภาคเรียนของโรงเรียนในพื้นที่ ซึ่งโรคไข้เลือดออกโดยนิสัยของยุงลายจะชอบออกหากินในเวลากลางวัน จึงทำให้เกิดการระบาดได้ทั้ง ชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โรงเรียน และศาสนสถาน ซึ่งการควบคุมโรคจะต้องอาศัยความร่วมมือจากภาคีเครือข่ายทั้งจากชุมชน โรงเรียน องค์การบริหารส่วนตำบล และหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันเฝ้าระวังและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อตำบลเทพา ปีงบประมาณ 2567 ขึ้นเพื่อเป็นการเตรียมรับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัดใหญ่ และให้มีการทำงานอย่างต่อเนื่องมีประสิทธิภาพตลอดจนกระตุ้นเตือนให้ประชาชนในชุมชนตลอดจนทุกภาคส่วน ร่วมมือผนึกพลังความคิดความร่วมมือแก้ไขปัญหาไข้เลือดออกร่วมกันต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่จำนวนลดลง

จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ลดลงกว่า ปี 2567 ร้อยละ 50

1.00
2 ผู้ป่วยโรคหัดในพื้นที่จำนวนลดลง

จำนวนผู้ป่วยโรคหัดในพื้นที่ลดลงกว่า ปี 25๖7 ร้อยละ 50

1.00
3 แกนนำสุขภาพมีความรอบรู้เรื่องโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัด

แกนนำมีความรอบรู้เรื่องโรคติดต่อต่างๆ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัด ร้อยละ 80

1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 320 11,900.00 0 0.00
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ 160 11,700.00 -
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 จัดอบรมพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพ จัดกิจกรรม Big Cleaning พื้นที่ ม.1,ม.3,ม.4,ม.5,ม.6 และม.8 ตำบลเทพา 160 0.00 -
1 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 ติดตามประเมินผล และสรุปการดำเนินโครงการ 0 200.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เพื่อลดอัตราป่วยของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. เพื่อลดอัตราป่วยของโรคหัดในพื้นที่
  3. ประชาชนมีความรอบรู้เรื่องโรคติดต่อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคหัด และโรคไข้หวัดใหญ่ รวมทั้งร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาโรคติดต่อในชุมชน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 ก.พ. 2568 12:28 น.